-เครื่องมือที่จะทำให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพมีอยู่หลากหลายวิธี โดยจะเลือกมาหนึ่งวิธีนั้นก็คือ การใช้ Benchmarking เป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์กรทำให้องค์กรสามารถตั้งเป้าหมายที่ตรงกับความเป็นจริงได้สามารถเพิ่มผลิตภาพขององค์กร ทำให้องค์กรมองตัวเองได้ดีขึ้น ทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะของตนเองเมื่อเทียบกับองค์กรอื่นอีกทั้งเป็นการกระตุ้นให้พนักงานเกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรในด้านการสร้างความพึงพอใจของลูกค้าการลดระยะเวลาในการผลิตหรือให้บริการ การลดของเสีย การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานการส่งมอบ และการลดต้นทุน-การนำ Benchmarking มาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์กรผู้บริหารต้องเข้าใจถึงกระบวนการอย่างน้อย 4 ขั้นตอน คือ1.UNDERSTANDING เป็นการสร้างความเข้าใจในหลักการ วิธีการ และผลที่จะได้รับขององค์กรและบุคลากรรวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด2.MIRROR&FUNCTION เป็นการสะท้อนภาพกระบวนการทั้งกระบวนการหลักและสนับสนุนขององค์กร ทำให้มองเห็นภาพโครงสร้างองค์กรภาพของกิจกรรมกระบวนการและข้อมูลในองค์กร ผังกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process Mapping) การทำงานและหน้าที่ความรับผิดชอบในแต่ละบทบาท3.TIME&ANALYSIS เมื่อทราบกระบวนการทางธุรกิจและกิจกรรมที่เชื่อมต่อกันในกระบวนการแล้วการวิเคราะห์องค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้ทั้งหมดในกิจกรรมทำให้สามารถสรุปได้ว่าจุดที่ควรปรับปรุงหรือพัฒนาให้ดีขึ้นนั้นอยู่ที่ใดในกระบวนการ4.IMPROVEMENT เป็นการปรับปรุงองค์กรโดยนำเครื่องมือการพัฒนาองค์กรต่างๆ มาใช้ เช่น Benchmarking โดยมองที่ประเด็นสำคัญ คือเราอยู่ที่ไหน ใครเก่งที่สุด เขาทำได้อย่างไร และทำอย่างไรให้ดีกว่าเขา(ปิยาภรณ์ ชินวงค์พรหม 12590051)
-เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน (3)แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(อภิษฐา เนียมศิริ 12590101)
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
9. ผู้บริหารควรใช้เครื่องมือใดบ้างเพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพตอบ : เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่ 1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้ขตอนอย่างชัดเจนนางสาวสุดารัตน์ สุขสาม (รหัส 12590090)
เครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นเครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลงเพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผนรวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน 1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน (Function-oriented Project Manager ment) เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆอาทิหลักการและเหตุผลวัตถุประสงค์กำหนดเวลาสถานที่วิธีการผู้ร่วมโครงงานผู้รับผิดชอบโครงงานและงบประมาณ2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ (Responsibility-oriented Project Management) การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้นต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จเครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วนพร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3. แกนต์ชาร์ต (Gant Chart) การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลาพร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนแกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลายเนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวมเพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(นางสาวอัมรินทร์ เกมอ 12590105)
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนและเหมาะสมนายสุกัลย์ จันทร์ตรี 12590087
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่ 1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้ขตอนอย่างชัดเจน(อภัสสร ปูชนียกุล 12590100)
ผู้บริหารควรใช้เครื่องมือเพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้ 1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ เป็นต้น2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงการที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆ นั้นต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วนพ พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงการด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือวางแผนโดยใช้กันอย่างแพร่หลายเนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลา(อารียา ปานทอง 12590109)
ข้อ 9เครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนงาน ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด1. การพยากรณ์ (Forecasting) เป็นเทคนิคที่ใช้ข้อมูลในอดีตมาหาแนวโน้มที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นในอนาคตโดย อาศัยวิธีการทางสถิติ เทคนิคนี้จะช่วยให้องค์การสามารถคาดการณ์สถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นและส่งผลกระทบกับองค์การล่วงหน้าได้2. การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยวางแผน โปรแกรมนี้ยังช่วยเป็นโปรแกรมที่สนับสนุนในด้านข้อมูลและช่วยในการวางแผน ทางการเงิน การบริหารการตลาด การจัดซื้อ การขายและการขนส่ง การบริหารบุคคล และงานอื่น ๆทั่วทั้งองค์การ โปรแกรมนี้ได้ถูกตั้งชื่อว่า ERP (Enterprise Resource Planning) ปัจจุบันมีผู้จำหน่ายโปรแกรมนี้อยู่ทั่วโลกและได้มีการนำมาใช้งาน และพัฒนาประสิทธิภาพการใช้งานอยู่อย่างต่อเนื่อง3. การใช้เทคนิคทางการวิจัยการดำเนินงาน (Operation research) เป็นเทคนิคที่ประยุกต์ใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติในการแก้ปัญหาโดยมุ่ง เน้นผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด เช่น การหาเส้นทางขนส่งที่ทำให้เกิดต้นทุนต่ำสุดและขนส่งได้ทันเวลา(อรณิชา ศรีสมัย 12590102)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโโยทั่วไป ได้แก่1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(น.ส.ศศิพิมพ์ ชัยกุลพัฒนา 12590076)
เครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนงาน ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน (Function-oriented Project Manage-ment) เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ(Responsibility-oriented Project Management) การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต (Gantt Chart)การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(นางสาวสิริรัตน์ ศิริพรทุม 12590086)
ปัจจุบันการวางแผนที่มีประสิทธิภาพไม่ว่าจะเป็นการวางแผนในระดับใดก็ตามผู้ บริหารมักนำเอาเทคนิคและเครื่องมือการวางแผนมาใช้พิจารณาประกอบการวางแผน ด้วยเสมอการนำเอาเทคนิคและเครื่องมือการวางแผนมาใช้ประกอบการวางแผนนั้นจะ ช่วยให้ผู้บริหารสามารถวิเคราะห์สภาวะการณ์เพื่อทำการวางแผนได้ อย่างเหมาะสมยิ่งขึ้น โดยทั่วไปเทคนิคและเครื่องมือการวางแผนจะประกอบไปด้วยทั้งเทคนิคการวางแผน1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนและเหมาะสม(ชนกนาฎ สหทรัพย์เจริญ 12590012)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงานเป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบการบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน(3)แกนต์ชาร์ตทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(วัชระ จริยสุขสกุล 12590071)
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน 1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน (Function-oriented Project Manager ment) เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ เช่น หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ (Responsibility-oriented Project Management) การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต (Gant Chart) การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (นางสาวปรมาพร สิงขรรัตน์ 12590046)
ผู้บริหารควรใช้เครื่องมือดังต่อไปนี้ เพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้กุลปริยา แย้มเกษร 12590005
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโโยทั่วไป ได้แก่1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้( นายนภนต์ เจียรนัย 12590040 )
ครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโโยทั่วไป ได้แก่1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้ศิฌาวี เรือนปัญจะ 12590078
เครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นเครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลงเพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผนรวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน (Function-oriented Project Manager ment) เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆอาทิหลักการและเหตุผลวัตถุประสงค์กำหนดเวลาสถานที่วิธีการผู้ร่วมโครงงานผู้รับผิดชอบโครงงานและงบประมาณ2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ (Responsibility-oriented Project Management) การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้นต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จเครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วนพร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3.แกนต์ชาร์ต (Gant Chart) การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลาพร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนแกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลายเนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวมเพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้ (ชัชญาณ์ณัฐ ภูวิศภัทรนนท์ 12590110)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโโยทั่วไป ได้แก่1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(นางสาวคณภัทร์ ศิริโยธิน 12590108)
ผู้บริหารทุกคนย่อมต้องการทำงานให้สำเร็จ และมีความคิดหลายอย่างที่จะหาวิธีให้ภาระงาน บรรลุตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ ความคิดของผู้บริหารอาจเลื่อนลอยไม่ชัดเจนอาจเป็นไปได้หรือเป็นไปไม่ได้ แต่สิ่งที่ทำให้ความคิดของผู้บริหารเป็นความจริงก็คือการวางแผนเชิงกลยุทธ์ในการบริหารงาน หากขาดการวางแผนหนทางที่จะบรรลุผลก็เป็นไปได้ยาก ในแง่ของการบริหารงานการวางแผนเป็นหน้าที่แรกสุดแล้วก็ตามด้วยหน้าที่การจัดองค์การ การจูงใจ หรือการนำและการควบคุมการวางแผน ดังนั้นการวางแผนเชิงกลยุทธ์มีความสำคัญมากที่จะบอกได้ว่าองค์กรจะประสบความสำเร็จในการแข่งขันกับองค์กรอื่นหรือไม่ แผนเป็นสิ่งที่แสดงให้เป็นว่าองค์กรพยายามที่จะทำให้ดียิ่งขึ้นกว่าที่กำลังกระทำอยู่และพยายามทำให้ดีกว่าคนอื่น การวางแผนเชิงกลยุทธ์เป็นการตัดสินใจล่วงหน้าก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์จริงตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่ 1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน( ณัฐชัญญา ปรินจิตต์ 12590896 )
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(นางสาว ณัฐฐา จินตกวีพันธุ์ 12590020)
ผู้บริหารควรใช้เครื่องมือดังต่อไปนี้ เพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้สุภัทษา สนธิช่วย 12590096
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโโยทั่วไป ได้แก่1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้ธีรภัทร์ จำปาเรือง 12590039
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่ 1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ เช่น หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน (ศุภิสรา นรินยา 12590717)
- เครื่องมือที่จะทำให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพมีอยู่หลากหลายวิธี โดยจะเลือกมาหนึ่งวิธีนั้นก็คือ การใช้ Benchmarking เป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์กรทำให้องค์กรสามารถตั้งเป้าหมายที่ตรงกับความเป็นจริงได้สามารถเพิ่มผลิตภาพขององค์กร ทำให้องค์กรมองตัวเองได้ดีขึ้น ทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะของตนเองเมื่อเทียบกับองค์กรอื่นอีกทั้งเป็นการกระตุ้นให้พนักงานเกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรในด้านการสร้างความพึงพอใจของลูกค้าการลดระยะเวลาในการผลิตหรือให้บริการ การลดของเสีย การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานการส่งมอบ และการลดต้นทุน-การนำ Benchmarking มาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์กรผู้บริหารต้องเข้าใจถึงกระบวนการอย่างน้อย 4 ขั้นตอน คือ1.UNDERSTANDING เป็นการสร้างความเข้าใจในหลักการ วิธีการ และผลที่จะได้รับขององค์กรและบุคลากรรวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด2.MIRROR&FUNCTION เป็นการสะท้อนภาพกระบวนการทั้งกระบวนการหลักและสนับสนุนขององค์กร ทำให้มองเห็นภาพโครงสร้างองค์กรภาพของกิจกรรมกระบวนการและข้อมูลในองค์กร ผังกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process Mapping) การทำงานและหน้าที่ความรับผิดชอบในแต่ละบทบาท3.TIME&ANALYSIS เมื่อทราบกระบวนการทางธุรกิจและกิจกรรมที่เชื่อมต่อกันในกระบวนการแล้วการวิเคราะห์องค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้ทั้งหมดในกิจกรรมทำให้สามารถสรุปได้ว่าจุดที่ควรปรับปรุงหรือพัฒนาให้ดีขึ้นนั้นอยู่ที่ใดในกระบวนการ4.IMPROVEMENT เป็นการปรับปรุงองค์กรโดยนำเครื่องมือการพัฒนาองค์กรต่างๆ มาใช้ เช่น Benchmarking โดยมองที่ประเด็นสำคัญ คือเราอยู่ที่ไหน ใครเก่งที่สุด เขาทำได้อย่างไร และทำอย่างไรให้ดีกว่าเขานายธนสิทธิ์ อาจอ่อนศรี 12590036
ผู้บริหารควรใช้เครื่องมือดังต่อไปนี้ เพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(บุญธิดา กะตะศิลา 12590043)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงานเป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบการบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน(3)แกนต์ชาร์ตทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(นายธนพล โชครัตน์ประภา 12590033)
ผู้บริหารควรใช้เครื่องมือดังต่อไปนี้ เพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้ ( น.ส. อังคณา พิทักษ์สุข 12590104)
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่ 1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้ขตอนอย่างชัดเจน(นางสาวณัฐพร ทองปลิว 12590024)
ผู้บริหารควรใช้เครื่องมือดังต่อไปนี้ เพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้นาย ดนุสรณ์ เลิศเศรษฐี 12590028
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน 1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน (Function-oriented Project Manager ment) เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ เช่น หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ (Responsibility-oriented Project Management) การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต (Gant Chart) การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน (นางสาวภิตติมาตุ์ เอื้ออรุณชัย 12590062)
เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3.แกนต์ชาร์ต ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(นางสาวกรกนก จันทร์พันธุ์ 12590003)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ผู้บริหารควรใช้เครื่องมือเพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้ 1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ เป็นต้น2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงการที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆ นั้นต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วนพ พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงการด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือวางแผนโดยใช้กันอย่างแพร่หลายเนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลา(ณัฐฌา ปักกัง 12590019)
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน 1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน (Function-oriented Project Manager ment) เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ เช่น หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ (Responsibility-oriented Project Management) การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต (Gant Chart) การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน (นางสาวพัชรา จูเอี่ยม 12590954)
ผู้บริหารควรนำเครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนไปใช้ให้สัมฤทธิผลและเกิดประสิทธิภาพแก่องค์กรแผน (Plan)- วิธีการซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อให้การทำงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย- จำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องกับเป้าหมาย- และสนับสนุนให้องค์กรบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจที่กำหนดขึ้นแผนตามปริมาณการใช้งานแผนที่ใช้ครั้งเดียว (Single-use Plan)- โครงงาน (Project) : ระบุกิจกรรม วิธีการทำงาน กำหนดเวลา ฯลฯ- โครงการ (Program) : ประกอบด้วยกิจกรรม/โครงงานหลายอย่างรวมด้วยกันแผนที่ใช้ประจำ (Standing Plan)- กฎ (Rules) : ระบุสิ่งที่ต้องกระทำหรือห้ามกระทำ,ไม่ต้องใช้วิจารณญาณ- นโยบาย (Policy) : ระบุแนวทางกว้างๆในการปฏิบัติงาน ใช้วิจารณญาณ- ระเบียบวิธีปฏิบัติ (Procedures) : ระบุรายละเอียดและวิธีปฏิบัติแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนแผนฉุกเฉิน (Contingency Plan)- ไม่มีกำหนดระยะเวลาการใช้งานที่ชัดเจน- นำมาใช้เมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินลักษณะของแผนที่ดี- ปฏิบัติได้จริงและมุ่งความสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนด (Practical and Goal Oriented)- ชัดเจน (Clear) - ประหยัดและมีประสิทธิภาพ (Cost Effective and Efficient)- ยืดหยุ่นและสามารถปรับเปลี่ยนได้ (Flexible and Adaptable)- เป็นที่ยอมรับ (Acceptable)อุปสรรคในการวางแผนผู้บริหาร- ไม่เห็นความสำคัญของการวางแผน- ขาดวิสัยทัศน์ ชอบแก้ปัญหาเฉพาะหน้า- ขาดความรู้และทักษะในการวางแผน ผู้ปฏิบัติตามแผนและสมาชิกในองค์กร - ผู้ปฏิบัติงานเสียประโยชน์จากการวางแผนหรือการปฏิบัติตามแผน- ผู้ปฏิบัติงานไม่มีความสามารถปฏิบัติตามแผนหรือจงใจไม่ปฏิบัติปัจจัยอื่นๆ- ขาดทรัพยากรที่จำเป็น เช่น บุคลากร และ เงิน เป็นต้น- สภาพแวดล้อมขององค์กรเปลี่ยนแปลงไปเครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)- การบริหารโครงงานตามองค์ประกอบงาน(Function-oriented Project Management) - การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ (Responsibility-oriented Project Management)- แกนท์ชาร์ต(Gantt Chart)รัญชริดา มะนุ่น 12590067
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงานเป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบการบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน(3)แกนต์ชาร์ตทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(นางสาวสิตานัน หรุ่นทอง 12590082)
- เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนและเหมาะสม(ภัทรานิษฐ์ กุญแจทอง 12590059)
ผู้บริหารทุกคนย่อมต้องการทำงานให้สำเร็จ และมีความคิดหลายอย่างที่จะหาวิธีให้ภาระงาน บรรลุตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ ความคิดของผู้บริหารอาจเลื่อนลอยไม่ชัดเจนอาจเป็นไปได้หรือเป็นไปไม่ได้ แต่สิ่งที่ทำให้ความคิดของผู้บริหารเป็นความจริงก็คือการวางแผนเชิงกลยุทธ์ในการบริหารงาน หากขาดการวางแผนหนทางที่จะบรรลุผลก็เป็นไปได้ยาก ในแง่ของการบริหารงานการวางแผนเป็นหน้าที่แรกสุดแล้วก็ตามด้วยหน้าที่การจัดองค์การ การจูงใจ หรือการนำและการควบคุมการวางแผน ดังนั้นการวางแผนเชิงกลยุทธ์มีความสำคัญมากที่จะบอกได้ว่าองค์กรจะประสบความสำเร็จในการแข่งขันกับองค์กรอื่นหรือไม่ แผนเป็นสิ่งที่แสดงให้เป็นว่าองค์กรพยายามที่จะทำให้ดียิ่งขึ้นกว่าที่กำลังกระทำอยู่และพยายามทำให้ดีกว่าคนอื่น การวางแผนเชิงกลยุทธ์เป็นการตัดสินใจล่วงหน้าก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์จริงตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่ 1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนนางสาววชิราพร คำกอง 12590068
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน (3)แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(นางสาว สรัสนันท์ บุญมี 12590080)
เครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนงาน ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน (Function-oriented Project Manage-ment)เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ(Responsibility-oriented Project Management) การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต (Gantt Chart)การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(เบญญาภา กรีรถ 12590044)
เครื่องมือสำหรับผู้บริหารในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาระหว่างฝ่ายต่าง ๆแผนหลักหรือแผนประจำประกอบด้วย- นโยบาย เป็นข้อความ หรือสิ่งที่เข้าใจง่ายเป็นที่ยอมรับและเป็นแนวทางสำหรับการตัดสินในและปฏิบัติ- ระเบียบวิธีปฏิบัติ (Procedures) เป็นขั้นตอนวิธีปฏิบัติงานที่เลือกหรือกำหนดไว้เป็นมาตรฐาน สำหรับการดำเนินงานในอนาคต เพื่อให้เป็นไปตามนโยบาย และวัตถุประสงค์ระเบียบปฏิบัติจะใช้มากสำหรับการดำเนินงานในระดับแผนกซึ่งมีหน้าที่ในทางปฏิบัติโดยตรงความแตกต่างระหว่างนโยบายกับระเบียบวิธีปฏิบัติจะอยู่ที่นโยบายเป็นเรื่องของการวางหลักปฏิบัติทั่วๆ ไป ส่วนระเบียบวิธีปฏิบัติจะบอกให้ทราบว่า จะต้องทำอะไร ทำอย่างไรเพื่อให้สัมฤทธิ์ผล ดังนั้นจึงมีผู้กล่าว่า ระเบียบปฏิบัติ คือ แผนซึ่งกำหนดแนวปฏิบัติที่เฉพาะเจาะจงภายในนโยบายที่วางไว้- กฎ (Rule) หมายถึง แผนงานประจำที่มีความเฉพาะเจาะจง จำเป็นต้องปฏิบัติ กฎจะชี้ให้เห็นถึงวิธีปฏิบัติงานโดยไม่มีการลำดับเหตุการณ์ กฎอาจเป็นหรือไม่เป็นส่วนหนี่งของวิธีปฏิบัติก็ได้ และถ้านโยบายที่นำมาใช้ไม่เปิดโอกาสให้ผู้กรำได้ใช้ดุลพินิจในการปฏิบัติงานแล้วถูกเรียกว่ากฎทันที4.2 แผนใช้เฉพาะครั้ง (Single-Use Plan) หมายถึง แผนที่เตรียมขึ้นอย่างเฉพาะเจาะจงกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวแล้วจะไม่มีโอกาสเกิดขึ้นอีก (one time Goal ) เมื่อบรรลุผลตามที่กำหนดแล้วจะเลิกใช้แผนนั้น ๆ แต่ถ้าสถานการณ์เอื้ออำนวยจะนำกลับมาใช้ใหม่อีกก็ได้ แผนประเภทนี้ได้แก่4.2.1 โปรแกรมหรือ แผนงาน (Program) เป็นแผนที่ถูกจัดให้อยู่ในลำดับสูงสุดของแผนใช้เฉพาะครั้ง (การวางแผนและควบคุมการบริหาร)โปรแกรมจะครอบคลุมกิจกรรมที่คาดว่าจะต้องกระทำทั้งหมด หรือเพื่อใช้กับสถานการณ์ที่ค่อนข้างยุ่งยากและสลับซับซ้อนในการแก้ปัญหา (Management) เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสม พัชมน มนต์วิมลพร 12590053
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน (3)แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(นางสาวชนาวาส บัววงค์)12590013
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(ปวีณา เกตุแย้ม 12590047)
ปัจจุบันการวางแผนที่มีประสิทธิภาพไม่ว่าจะเป็นการวางแผนในระดับใดก็ตามผู้ บริหารมักนำเอาเทคนิคและเครื่องมือการวางแผนมาใช้พิจารณาประกอบการวางแผน ด้วยเสมอการนำเอาเทคนิคและเครื่องมือการวางแผนมาใช้ประกอบการวางแผนนั้นจะ ช่วยให้ผู้บริหารสามารถวิเคราะห์สภาวะการณ์เพื่อทำการวางแผนได้ อย่างเหมาะสมยิ่งขึ้น โดยทั่วไปเทคนิคและเครื่องมือการวางแผนจะประกอบไปด้วยทั้งเทคนิคการวางแผน เชิงปริมาณและเทคนิคการวางแผนเชิงคุณภาพ ดังจะอธิบายดังต่อไปนี้ 1. เทคนิคการพิจารณาสภาวะแวดล้อม (Environmental scanning) เป็นการพิจารณาสภาวะแวดล้อมขององค์การที่มักพิจารณาสภาพการณ์ของคู่แข่งหรือ องค์การอื่นที่มีความเกี่ยวข้อง แล้วนำผลมาใช้วิเคราะห์ประกอบการวางแผนขององค์การ การพิจารณาดังกล่าวอาจทำได้ในรูปแบบดังนี้• การพิจารณาความฉลาดของคู่แข่ง (Competitor intelligence) เป็นกระบวนการในการรวบรวมข้อมูลของคู่แข่งมาให้ได้มากที่สุด แล้วนำมากลั่นกรองวิเคราะห์ว่าความเป็นไปของคู่แข่งนั้นจะมีผลกระทบต่อ องค์การของเราอย่างไร คู่แข่งมีแนวโน้มจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร แล้วนำข้อมูลนี้มาเป็นข้อมูลที่ใช้ในการวางแผนรองรับ• การเปรียบมวย (Benchmarking) เป็นการวิเคราะห์เปรียบเทียบองค์การของเรากับองค์การอื่นที่ดีที่สุด ซึ่งอาจเป็นองค์การในธุรกิจเดียวกันหรือธุรกิจอื่นๆที่ไม่ใช่คู่แข่งขัน แล้วนำจุดเด่นเหล่านั้นมาประยุกต์ใช้กับองค์การของตน• การพิจารณาในระดับนานาชาติ (Global scanning) เป็นการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลของสภาวะแวดล้อมในระดับนานาชาติ 2. การพยากรณ์ (Forecasting) เป็นเทคนิคที่ใช้ข้อมูลในอดีตมาหาแนวโน้มที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นในอนาคตโดย อาศัยวิธีการทางสถิติ เทคนิคนี้จะช่วยให้องค์การสามารถคาดการณ์สถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นและส่งผล กระทบกับองค์การล่วงหน้าได้ ซึ่งผลจากการพยากรณ์จะช่วยให้องค์การสามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงได้ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เทคนิคที่นิยมใช้ในการพยากรณ์ได้แก่ การวิเคราะห์ถดถอย (Regression analysis), การวิเคราะห์อนุกรมเวลา (Time series analysis) หรือการหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ (Moving average method) เป็นต้น (มณฑล น้ำแก้ว 12590065)
- เครื่องมือที่จะทำให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพมีอยู่หลากหลายวิธี โดยจะเลือกมาหนึ่งวิธีนั้นก็คือ การใช้ Benchmarking เป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์กรทำให้องค์กรสามารถตั้งเป้าหมายที่ตรงกับความเป็นจริงได้สามารถเพิ่มผลิตภาพขององค์กร ทำให้องค์กรมองตัวเองได้ดีขึ้น ทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะของตนเองเมื่อเทียบกับองค์กรอื่นอีกทั้งเป็นการกระตุ้นให้พนักงานเกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรในด้านการสร้างความพึงพอใจของลูกค้าการลดระยะเวลาในการผลิตหรือให้บริการ การลดของเสีย การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานการส่งมอบ และการลดต้นทุน-การนำ Benchmarking มาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์กรผู้บริหารต้องเข้าใจถึงกระบวนการอย่างน้อย 4 ขั้นตอน คือ1.UNDERSTANDING เป็นการสร้างความเข้าใจในหลักการ วิธีการ และผลที่จะได้รับขององค์กรและบุคลากรรวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด2.MIRROR&FUNCTION เป็นการสะท้อนภาพกระบวนการทั้งกระบวนการหลักและสนับสนุนขององค์กร ทำให้มองเห็นภาพโครงสร้างองค์กรภาพของกิจกรรมกระบวนการและข้อมูลในองค์กร ผังกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process Mapping) การทำงานและหน้าที่ความรับผิดชอบในแต่ละบทบาท3.TIME&ANALYSIS เมื่อทราบกระบวนการทางธุรกิจและกิจกรรมที่เชื่อมต่อกันในกระบวนการแล้วการวิเคราะห์องค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้ทั้งหมดในกิจกรรมทำให้สามารถสรุปได้ว่าจุดที่ควรปรับปรุงหรือพัฒนาให้ดีขึ้นนั้นอยู่ที่ใดในกระบวนการ4.IMPROVEMENT เป็นการปรับปรุงองค์กรโดยนำเครื่องมือการพัฒนาองค์กรต่างๆ มาใช้ เช่น Benchmarking โดยมองที่ประเด็นสำคัญ คือเราอยู่ที่ไหน ใครเก่งที่สุด เขาทำได้อย่างไร และทำอย่างไรให้ดีกว่าเขานางสาวณัฐนรี สีทองสุก 12590022
เครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นเครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลงเพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผนรวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน 1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน (Function-oriented Project Manager ment) เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆอาทิหลักการและเหตุผลวัตถุประสงค์กำหนดเวลาสถานที่วิธีการผู้ร่วมโครงงานผู้รับผิดชอบโครงงานและงบประมาณ2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ (Responsibility-oriented Project Management) การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้นต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จเครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วนพร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3. แกนต์ชาร์ต (Gant Chart) การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลาพร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนแกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลายเนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวมเพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(ณัฐนพิน ชินวัฒนา 12590021)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน (3)แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(เอเซีย พิทยาพละ 12590112)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโโยทั่วไป ได้แก่1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(สิทธิชัย พ่อค้าเรือ 12590083)
ผู้บริหารควรใช้เครื่องมือเพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้ 1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ เป็นต้น2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงการที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆ นั้นต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วนพ พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงการด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือวางแผนโดยใช้กันอย่างแพร่หลายเนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลา(น.ส.หมายขวัญ นวลอุไร 12590099)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน (3)แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(สมภพ ขุนทรง 12590079)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโโยทั่วไป ได้แก่1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(นายชินวัตร พิพัฒน์พงศานนท์ 12590015)
-เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน (3)แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(สิริกร ราชมณี 12590084)
-เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน (3)แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(จุฬาลักษณ์ สกุลวงวาร 12590010)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโโยทั่วไป ได้แก่1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(สุรีรัตน์ สระเกตุ 12590098 )
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน (3)แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(นางสาวณัฐรี เต่าแก้ว 12590026)
ครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่ 1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้ขตอนอย่างชัดเจน(ดวงหทัย โฉมมา 12590029)
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนและเหมาะสม(นางสาวสุชานรี เวียนมานะ 12590089)
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่ 1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้ขตอนอย่างชัดเจน(สัจจะ ปฎิบัติดี 12590081)
เครื่องมือต่าง ๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่าง ๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่ 1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่าง ๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้ขตอนอย่างชัดเจน(วริศ เอี๊ยวชัยพร 070)
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนและเหมาะสม(นางสาวภัทราพร ผังรักษ์ 12590061)
เครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นเครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลงเพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผนรวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน (Function-oriented Project Manager ment) เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆอาทิหลักการและเหตุผลวัตถุประสงค์กำหนดเวลาสถานที่วิธีการผู้ร่วมโครงงานผู้รับผิดชอบโครงงานและงบประมาณ2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ (Responsibility-oriented Project Management) การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้นต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จเครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วนพร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3.แกนต์ชาร์ต (Gant Chart) การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลาพร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนแกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลายเนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวมเพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(นางสาวณัฎฐา กมลศิลป์ 12590018)
-เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน (3)แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(ปาลิตา มนัสปัญญากุล 12590049)
-เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงานเป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบการบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน(3)แกนต์ชาร์ตการบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(สุรีรัตน์ ศักดิ์ภิรมย์ 12590954)
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนและเหมาะสมนายธรรศธรรม จำปาทอง 12590790
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน (3)แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(วิลาสินี เกตุแก้ว 12590073)
ผู้บริหารควรนำเครื่องมือเหล่านี้ที่ใช้ในการวางแผนไปใช้ให้สัมฤทธิผลและเกิดประสิทธิภาพแก่องค์กรแผน (Plan)- วิธีการซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อให้การทำงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย- จำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องกับเป้าหมาย- และสนับสนุนให้องค์กรบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจที่กำหนดขึ้นแผนตามปริมาณการใช้งานแผนที่ใช้ครั้งเดียว (Single-use Plan)- โครงงาน (Project) : ระบุกิจกรรม วิธีการทำงาน กำหนดเวลา ฯลฯ- โครงการ (Program) : ประกอบด้วยกิจกรรม/โครงงานหลายอย่างรวมด้วยกันแผนที่ใช้ประจำ (Standing Plan)- กฎ (Rules) : ระบุสิ่งที่ต้องกระทำหรือห้ามกระทำ,ไม่ต้องใช้วิจารณญาณ- นโยบาย (Policy) : ระบุแนวทางกว้างๆในการปฏิบัติงาน ใช้วิจารณญาณ- ระเบียบวิธีปฏิบัติ (Procedures) : ระบุรายละเอียดและวิธีปฏิบัติแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนแผนฉุกเฉิน (Contingency Plan)- ไม่มีกำหนดระยะเวลาการใช้งานที่ชัดเจน- นำมาใช้เมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินน.ส.วราภรณ์ ขันสมบัติ 12590069
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่ 1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้ขตอนอย่างชัดเจน(พงศธร ศิริสมบูรณ์ 12590052)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงานเป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบการบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน(3)แกนต์ชาร์ตทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(ชุติกาญจน์ ปานดารา 12590016)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโโยทั่วไป ได้แก่1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(อัษฎาวุธ เขตเจริญ 12590106)
-เครื่องมือที่จะทำให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพมีอยู่หลากหลายวิธี โดยจะเลือกมาหนึ่งวิธีนั้นก็คือ การใช้ Benchmarking เป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์กรทำให้องค์กรสามารถตั้งเป้าหมายที่ตรงกับความเป็นจริงได้สามารถเพิ่มผลิตภาพขององค์กร ทำให้องค์กรมองตัวเองได้ดีขึ้น ทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะของตนเองเมื่อเทียบกับองค์กรอื่นอีกทั้งเป็นการกระตุ้นให้พนักงานเกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรในด้านการสร้างความพึงพอใจของลูกค้าการลดระยะเวลาในการผลิตหรือให้บริการ การลดของเสีย การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานการส่งมอบ และการลดต้นทุน-การนำ Benchmarking มาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์กรผู้บริหารต้องเข้าใจถึงกระบวนการอย่างน้อย 4 ขั้นตอน คือ1.UNDERSTANDING เป็นการสร้างความเข้าใจในหลักการ วิธีการ และผลที่จะได้รับขององค์กรและบุคลากรรวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด2.MIRROR&FUNCTION เป็นการสะท้อนภาพกระบวนการทั้งกระบวนการหลักและสนับสนุนขององค์กร ทำให้มองเห็นภาพโครงสร้างองค์กรภาพของกิจกรรมกระบวนการและข้อมูลในองค์กร ผังกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process Mapping) การทำงานและหน้าที่ความรับผิดชอบในแต่ละบทบาท3.TIME&ANALYSIS เมื่อทราบกระบวนการทางธุรกิจและกิจกรรมที่เชื่อมต่อกันในกระบวนการแล้วการวิเคราะห์องค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้ทั้งหมดในกิจกรรมทำให้สามารถสรุปได้ว่าจุดที่ควรปรับปรุงหรือพัฒนาให้ดีขึ้นนั้นอยู่ที่ใดในกระบวนการ4.IMPROVEMENT เป็นการปรับปรุงองค์กรโดยนำเครื่องมือการพัฒนาองค์กรต่างๆ มาใช้ เช่น Benchmarking โดยมองที่ประเด็นสำคัญ คือเราอยู่ที่ไหน ใครเก่งที่สุด เขาทำได้อย่างไร และทำอย่างไรให้ดีกว่าเขา(น.ส.ดารารัตน์ ดาสาลี 12590030)
เครื่องมือในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยลดเวลาตามขั้นตอนวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้อง และช่วยอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน โดยเครื่องมือดังนี้1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงการซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่าง ๆ เช่น หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ เป็นต้น2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน และเป็นเครื่องมือที่ใช้อย่างแพร่หลาย
เครื่องมือในการวางแผน เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน 3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(นางสาวศศิประภา ผาดศรี 12590075)
เครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนงาน ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด1. การพยากรณ์ (Forecasting) เป็นเทคนิคที่ใช้ข้อมูลในอดีตมาหาแนวโน้มที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นในอนาคตโดย อาศัยวิธีการทางสถิติ เทคนิคนี้จะช่วยให้องค์การสามารถคาดการณ์สถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นและส่งผลกระทบกับองค์การล่วงหน้าได้2. การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยวางแผน โปรแกรมนี้ยังช่วยเป็นโปรแกรมที่สนับสนุนในด้านข้อมูลและช่วยในการวางแผน ทางการเงิน การบริหารการตลาด การจัดซื้อ การขายและการขนส่ง การบริหารบุคคล และงานอื่น ๆทั่วทั้งองค์การ โปรแกรมนี้ได้ถูกตั้งชื่อว่า ERP (Enterprise Resource Planning) ปัจจุบันมีผู้จำหน่ายโปรแกรมนี้อยู่ทั่วโลกและได้มีการนำมาใช้งาน และพัฒนาประสิทธิภาพการใช้งานอยู่อย่างต่อเนื่อง3. การใช้เทคนิคทางการวิจัยการดำเนินงาน (Operation research) เป็นเทคนิคที่ประยุกต์ใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติในการแก้ปัญหาโดยมุ่ง เน้นผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด เช่น การหาเส้นทางขนส่งที่ทำให้เกิดต้นทุนต่ำสุดและขนส่งได้ทันเวลา(นางสาวอรวี ศรีวิโน 12590103)
-เครื่องมือที่จะทำให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพมีอยู่หลากหลายวิธี โดยจะเลือกมาหนึ่งวิธีนั้นก็คือ การใช้ Benchmarking เป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์กรทำให้องค์กรสามารถตั้งเป้าหมายที่ตรงกับความเป็นจริงได้สามารถเพิ่มผลิตภาพขององค์กร ทำให้องค์กรมองตัวเองได้ดีขึ้น ทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะของตนเองเมื่อเทียบกับองค์กรอื่นอีกทั้งเป็นการกระตุ้นให้พนักงานเกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรในด้านการสร้างความพึงพอใจของลูกค้าการลดระยะเวลาในการผลิตหรือให้บริการ การลดของเสีย การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานการส่งมอบ และการลดต้นทุน
ตอบลบ-การนำ Benchmarking มาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์กรผู้บริหารต้องเข้าใจถึงกระบวนการอย่างน้อย 4 ขั้นตอน คือ
1.UNDERSTANDING เป็นการสร้างความเข้าใจในหลักการ วิธีการ และผลที่จะได้รับขององค์กรและบุคลากรรวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด
2.MIRROR&FUNCTION เป็นการสะท้อนภาพกระบวนการทั้งกระบวนการหลักและสนับสนุนขององค์กร ทำให้มองเห็นภาพโครงสร้างองค์กรภาพของกิจกรรมกระบวนการและข้อมูลในองค์กร ผังกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process Mapping) การทำงานและหน้าที่ความรับผิดชอบในแต่ละบทบาท
3.TIME&ANALYSIS เมื่อทราบกระบวนการทางธุรกิจและกิจกรรมที่เชื่อมต่อกันในกระบวนการแล้วการวิเคราะห์องค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้ทั้งหมดในกิจกรรมทำให้สามารถสรุปได้ว่าจุดที่ควรปรับปรุงหรือพัฒนาให้ดีขึ้นนั้นอยู่ที่ใดในกระบวนการ
4.IMPROVEMENT เป็นการปรับปรุงองค์กรโดยนำเครื่องมือการพัฒนาองค์กรต่างๆ มาใช้ เช่น Benchmarking โดยมองที่ประเด็นสำคัญ คือเราอยู่ที่ไหน ใครเก่งที่สุด เขาทำได้อย่างไร และทำอย่างไรให้ดีกว่าเขา
(ปิยาภรณ์ ชินวงค์พรหม 12590051)
-เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
(3)แกนต์ชาร์ต
การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(อภิษฐา เนียมศิริ 12590101)
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบ9. ผู้บริหารควรใช้เครื่องมือใดบ้างเพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ตอบลบตอบ : เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่
1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น
2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้ขตอนอย่างชัดเจน
นางสาวสุดารัตน์ สุขสาม (รหัส 12590090)
เครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นเครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลงเพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผนรวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
ตอบลบ1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน (Function-oriented Project Manager ment) เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆอาทิหลักการและเหตุผลวัตถุประสงค์กำหนดเวลาสถานที่วิธีการผู้ร่วมโครงงานผู้รับผิดชอบโครงงานและงบประมาณ
2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ (Responsibility-oriented Project Management) การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้นต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จเครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วนพร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3. แกนต์ชาร์ต (Gant Chart) การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลาพร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนแกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลายเนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวมเพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(นางสาวอัมรินทร์ เกมอ 12590105)
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่
ตอบลบ1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น
2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนและเหมาะสม
นายสุกัลย์ จันทร์ตรี 12590087
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่
ตอบลบ1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น
2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้ขตอนอย่างชัดเจน
(อภัสสร ปูชนียกุล 12590100)
ผู้บริหารควรใช้เครื่องมือเพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้
ตอบลบ1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ เป็นต้น
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงการที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆ นั้นต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วนพ พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงการด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือวางแผนโดยใช้กันอย่างแพร่หลายเนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลา
(อารียา ปานทอง 12590109)
ข้อ 9
ตอบลบเครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนงาน ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด
1. การพยากรณ์ (Forecasting) เป็นเทคนิคที่ใช้ข้อมูลในอดีตมาหาแนวโน้มที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นในอนาคตโดย อาศัยวิธีการทางสถิติ เทคนิคนี้จะช่วยให้องค์การสามารถคาดการณ์สถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นและส่งผลกระทบกับองค์การล่วงหน้าได้
2. การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยวางแผน โปรแกรมนี้ยังช่วยเป็นโปรแกรมที่สนับสนุนในด้านข้อมูลและช่วยในการวางแผน ทางการเงิน การบริหารการตลาด การจัดซื้อ การขายและการขนส่ง การบริหารบุคคล และงานอื่น ๆทั่วทั้งองค์การ โปรแกรมนี้ได้ถูกตั้งชื่อว่า ERP (Enterprise Resource Planning) ปัจจุบันมีผู้จำหน่ายโปรแกรมนี้อยู่ทั่วโลกและได้มีการนำมาใช้งาน และพัฒนาประสิทธิภาพการใช้งานอยู่อย่างต่อเนื่อง
3. การใช้เทคนิคทางการวิจัยการดำเนินงาน (Operation research) เป็นเทคนิคที่ประยุกต์ใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติในการแก้ปัญหาโดยมุ่ง เน้นผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด เช่น การหาเส้นทางขนส่งที่ทำให้เกิดต้นทุนต่ำสุดและขนส่งได้ทันเวลา
(อรณิชา ศรีสมัย 12590102)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโโยทั่วไป ได้แก่
1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(น.ส.ศศิพิมพ์ ชัยกุลพัฒนา 12590076)
เครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนงาน ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด
ตอบลบ1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน (Function-oriented Project Manage-ment)
เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ(Responsibility-oriented Project Management)
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต (Gantt Chart)
การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(นางสาวสิริรัตน์ ศิริพรทุม 12590086)
ตอบลบปัจจุบันการวางแผนที่มีประสิทธิภาพไม่ว่าจะเป็นการวางแผนในระดับใดก็ตามผู้ บริหารมักนำเอาเทคนิคและเครื่องมือการวางแผนมาใช้พิจารณาประกอบการวางแผน ด้วยเสมอการนำเอาเทคนิคและเครื่องมือการวางแผนมาใช้ประกอบการวางแผนนั้นจะ ช่วยให้ผู้บริหารสามารถวิเคราะห์สภาวะการณ์เพื่อทำการวางแผนได้ อย่างเหมาะสมยิ่งขึ้น โดยทั่วไปเทคนิคและเครื่องมือการวางแผนจะประกอบไปด้วยทั้งเทคนิคการวางแผน
1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น
2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนและเหมาะสม
(ชนกนาฎ สหทรัพย์เจริญ 12590012)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
(3)แกนต์ชาร์ต
ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(วัชระ จริยสุขสกุล 12590071)
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
ตอบลบ1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน (Function-oriented Project Manager ment) เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ เช่น หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ (Responsibility-oriented Project Management) การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต (Gant Chart) การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(นางสาวปรมาพร สิงขรรัตน์ 12590046)
ผู้บริหารควรใช้เครื่องมือดังต่อไปนี้ เพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ
ตอบลบ1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต
การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
กุลปริยา แย้มเกษร 12590005
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโโยทั่วไป ได้แก่
1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
( นายนภนต์ เจียรนัย 12590040 )
ครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโโยทั่วไป ได้แก่
1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
ศิฌาวี เรือนปัญจะ 12590078
เครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นเครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลงเพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผนรวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
ตอบลบ1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน (Function-oriented Project Manager ment) เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆอาทิหลักการและเหตุผลวัตถุประสงค์กำหนดเวลาสถานที่วิธีการผู้ร่วมโครงงานผู้รับผิดชอบโครงงานและงบประมาณ
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ (Responsibility-oriented Project Management) การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้นต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จเครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วนพร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต (Gant Chart) การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลาพร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนแกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลายเนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวมเพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้ (ชัชญาณ์ณัฐ ภูวิศภัทรนนท์ 12590110)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโโยทั่วไป ได้แก่
1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(นางสาวคณภัทร์ ศิริโยธิน 12590108)
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบผู้บริหารทุกคนย่อมต้องการทำงานให้สำเร็จ และมีความคิดหลายอย่างที่จะหาวิธีให้ภาระงาน บรรลุตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ ความคิดของผู้บริหารอาจเลื่อนลอยไม่ชัดเจนอาจเป็นไปได้หรือเป็นไปไม่ได้ แต่สิ่งที่ทำให้ความคิดของผู้บริหารเป็นความจริงก็คือการวางแผนเชิงกลยุทธ์ในการบริหารงาน หากขาดการวางแผนหนทางที่จะบรรลุผลก็เป็นไปได้ยาก ในแง่ของการบริหารงานการวางแผนเป็นหน้าที่แรกสุดแล้วก็ตามด้วยหน้าที่การจัดองค์การ การจูงใจ หรือการนำและการควบคุมการวางแผน ดังนั้นการวางแผนเชิงกลยุทธ์มีความสำคัญมากที่จะบอกได้ว่าองค์กรจะประสบความสำเร็จในการแข่งขันกับองค์กรอื่นหรือไม่ แผนเป็นสิ่งที่แสดงให้เป็นว่าองค์กรพยายามที่จะทำให้ดียิ่งขึ้นกว่าที่กำลังกระทำอยู่และพยายามทำให้ดีกว่าคนอื่น การวางแผนเชิงกลยุทธ์เป็นการตัดสินใจล่วงหน้าก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์จริง
ตอบลบตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่
1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น
2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน
( ณัฐชัญญา ปรินจิตต์ 12590896 )
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3. แกนต์ชาร์ต
การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(นางสาว ณัฐฐา จินตกวีพันธุ์ 12590020)
ผู้บริหารควรใช้เครื่องมือดังต่อไปนี้ เพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ
ตอบลบ1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต
การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
สุภัทษา สนธิช่วย 12590096
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโโยทั่วไป ได้แก่
1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
ธีรภัทร์ จำปาเรือง 12590039
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่
ตอบลบ1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ เช่น หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น
2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน (ศุภิสรา นรินยา 12590717)
- เครื่องมือที่จะทำให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพมีอยู่หลากหลายวิธี โดยจะเลือกมาหนึ่งวิธีนั้นก็คือ การใช้ Benchmarking เป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์กรทำให้องค์กรสามารถตั้งเป้าหมายที่ตรงกับความเป็นจริงได้สามารถเพิ่มผลิตภาพขององค์กร ทำให้องค์กรมองตัวเองได้ดีขึ้น ทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะของตนเองเมื่อเทียบกับองค์กรอื่นอีกทั้งเป็นการกระตุ้นให้พนักงานเกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรในด้านการสร้างความพึงพอใจของลูกค้าการลดระยะเวลาในการผลิตหรือให้บริการ การลดของเสีย การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานการส่งมอบ และการลดต้นทุน
ตอบลบ-การนำ Benchmarking มาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์กรผู้บริหารต้องเข้าใจถึงกระบวนการอย่างน้อย 4 ขั้นตอน คือ
1.UNDERSTANDING เป็นการสร้างความเข้าใจในหลักการ วิธีการ และผลที่จะได้รับขององค์กรและบุคลากรรวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด
2.MIRROR&FUNCTION เป็นการสะท้อนภาพกระบวนการทั้งกระบวนการหลักและสนับสนุนขององค์กร ทำให้มองเห็นภาพโครงสร้างองค์กรภาพของกิจกรรมกระบวนการและข้อมูลในองค์กร ผังกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process Mapping) การทำงานและหน้าที่ความรับผิดชอบในแต่ละบทบาท
3.TIME&ANALYSIS เมื่อทราบกระบวนการทางธุรกิจและกิจกรรมที่เชื่อมต่อกันในกระบวนการแล้วการวิเคราะห์องค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้ทั้งหมดในกิจกรรมทำให้สามารถสรุปได้ว่าจุดที่ควรปรับปรุงหรือพัฒนาให้ดีขึ้นนั้นอยู่ที่ใดในกระบวนการ
4.IMPROVEMENT เป็นการปรับปรุงองค์กรโดยนำเครื่องมือการพัฒนาองค์กรต่างๆ มาใช้ เช่น Benchmarking โดยมองที่ประเด็นสำคัญ คือเราอยู่ที่ไหน ใครเก่งที่สุด เขาทำได้อย่างไร และทำอย่างไรให้ดีกว่าเขา
นายธนสิทธิ์ อาจอ่อนศรี 12590036
ผู้บริหารควรใช้เครื่องมือดังต่อไปนี้ เพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ
ตอบลบ1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต
การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(บุญธิดา กะตะศิลา 12590043)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
(3)แกนต์ชาร์ต
ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(นายธนพล โชครัตน์ประภา 12590033)
ผู้บริหารควรใช้เครื่องมือดังต่อไปนี้ เพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ
ตอบลบ1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต
การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้ ( น.ส. อังคณา พิทักษ์สุข 12590104)
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่
ตอบลบ1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น
2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้ขตอนอย่างชัดเจน
(นางสาวณัฐพร ทองปลิว 12590024)
ผู้บริหารควรใช้เครื่องมือดังต่อไปนี้ เพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ
ตอบลบ1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต
การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
นาย ดนุสรณ์ เลิศเศรษฐี 12590028
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
ตอบลบ1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน (Function-oriented Project Manager ment) เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ เช่น หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ (Responsibility-oriented Project Management) การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต (Gant Chart) การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน
(นางสาวภิตติมาตุ์ เอื้ออรุณชัย 12590062)
เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
ตอบลบ1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(นางสาวกรกนก จันทร์พันธุ์ 12590003)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools) เครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ผู้บริหารควรใช้เครื่องมือเพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้
ตอบลบ1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ เป็นต้น
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงการที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆ นั้นต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วนพ พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงการด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือวางแผนโดยใช้กันอย่างแพร่หลายเนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลา
(ณัฐฌา ปักกัง 12590019)
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
ตอบลบ1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน (Function-oriented Project Manager ment) เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ เช่น หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ (Responsibility-oriented Project Management) การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต (Gant Chart) การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน
(นางสาวพัชรา จูเอี่ยม 12590954)
ผู้บริหารควรนำเครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนไปใช้ให้สัมฤทธิผลและเกิดประสิทธิภาพแก่องค์กร
ตอบลบแผน (Plan)
- วิธีการซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อให้การทำงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย
- จำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
- และสนับสนุนให้องค์กรบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจที่กำหนดขึ้น
แผนตามปริมาณการใช้งาน
แผนที่ใช้ครั้งเดียว (Single-use Plan)
- โครงงาน (Project) : ระบุกิจกรรม วิธีการทำงาน กำหนดเวลา ฯลฯ
- โครงการ (Program) : ประกอบด้วยกิจกรรม/โครงงานหลายอย่างรวมด้วยกัน
แผนที่ใช้ประจำ (Standing Plan)
- กฎ (Rules) : ระบุสิ่งที่ต้องกระทำหรือห้ามกระทำ,ไม่ต้องใช้วิจารณญาณ
- นโยบาย (Policy) : ระบุแนวทางกว้างๆในการปฏิบัติงาน
ใช้วิจารณญาณ
- ระเบียบวิธีปฏิบัติ (Procedures) : ระบุรายละเอียดและวิธีปฏิบัติแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน
แผนฉุกเฉิน (Contingency Plan)
- ไม่มีกำหนดระยะเวลาการใช้งานที่ชัดเจน
- นำมาใช้เมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน
ลักษณะของแผนที่ดี
- ปฏิบัติได้จริงและมุ่งความสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนด
(Practical and Goal Oriented)
- ชัดเจน (Clear)
- ประหยัดและมีประสิทธิภาพ (Cost Effective and Efficient)
- ยืดหยุ่นและสามารถปรับเปลี่ยนได้ (Flexible and Adaptable)
- เป็นที่ยอมรับ (Acceptable)
อุปสรรคในการวางแผน
ผู้บริหาร
- ไม่เห็นความสำคัญของการวางแผน
- ขาดวิสัยทัศน์ ชอบแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
- ขาดความรู้และทักษะในการวางแผน
ผู้ปฏิบัติตามแผนและสมาชิกในองค์กร
- ผู้ปฏิบัติงานเสียประโยชน์จากการวางแผนหรือการปฏิบัติตามแผน
- ผู้ปฏิบัติงานไม่มีความสามารถปฏิบัติตามแผนหรือจงใจไม่ปฏิบัติ
ปัจจัยอื่นๆ
- ขาดทรัพยากรที่จำเป็น เช่น บุคลากร และ เงิน เป็นต้น
- สภาพแวดล้อมขององค์กรเปลี่ยนแปลงไป
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
- การบริหารโครงงานตามองค์ประกอบงาน(Function-oriented Project Management)
- การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ (Responsibility-oriented Project Management)
- แกนท์ชาร์ต(Gantt Chart)
รัญชริดา มะนุ่น 12590067
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
(3)แกนต์ชาร์ต
ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(นางสาวสิตานัน หรุ่นทอง 12590082)
- เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่
ตอบลบ1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น
2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนและเหมาะสม
(ภัทรานิษฐ์ กุญแจทอง 12590059)
ตอบลบผู้บริหารทุกคนย่อมต้องการทำงานให้สำเร็จ และมีความคิดหลายอย่างที่จะหาวิธีให้ภาระงาน บรรลุตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ ความคิดของผู้บริหารอาจเลื่อนลอยไม่ชัดเจนอาจเป็นไปได้หรือเป็นไปไม่ได้ แต่สิ่งที่ทำให้ความคิดของผู้บริหารเป็นความจริงก็คือการวางแผนเชิงกลยุทธ์ในการบริหารงาน หากขาดการวางแผนหนทางที่จะบรรลุผลก็เป็นไปได้ยาก ในแง่ของการบริหารงานการวางแผนเป็นหน้าที่แรกสุดแล้วก็ตามด้วยหน้าที่การจัดองค์การ การจูงใจ หรือการนำและการควบคุมการวางแผน ดังนั้นการวางแผนเชิงกลยุทธ์มีความสำคัญมากที่จะบอกได้ว่าองค์กรจะประสบความสำเร็จในการแข่งขันกับองค์กรอื่นหรือไม่ แผนเป็นสิ่งที่แสดงให้เป็นว่าองค์กรพยายามที่จะทำให้ดียิ่งขึ้นกว่าที่กำลังกระทำอยู่และพยายามทำให้ดีกว่าคนอื่น การวางแผนเชิงกลยุทธ์เป็นการตัดสินใจล่วงหน้าก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์จริง
ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่
1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น
2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน
นางสาววชิราพร คำกอง 12590068
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
(3)แกนต์ชาร์ต
การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(นางสาว สรัสนันท์ บุญมี 12590080)
เครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนงาน ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด
ตอบลบ1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน (Function-oriented Project Manage-ment)
เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ(Responsibility-oriented Project Management)
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต (Gantt Chart)
การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(เบญญาภา กรีรถ 12590044)
เครื่องมือสำหรับผู้บริหารในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาระหว่างฝ่ายต่าง ๆแผนหลักหรือแผนประจำประกอบด้วย
ตอบลบ- นโยบาย เป็นข้อความ หรือสิ่งที่เข้าใจง่ายเป็นที่ยอมรับและเป็นแนวทางสำหรับการตัดสินในและปฏิบัติ
- ระเบียบวิธีปฏิบัติ (Procedures) เป็นขั้นตอนวิธีปฏิบัติงานที่เลือกหรือกำหนดไว้เป็นมาตรฐาน สำหรับการดำเนินงานในอนาคต เพื่อให้เป็นไปตามนโยบาย และวัตถุประสงค์ระเบียบปฏิบัติจะใช้มากสำหรับการดำเนินงานในระดับแผนกซึ่งมีหน้าที่ในทางปฏิบัติโดยตรง
ความแตกต่างระหว่างนโยบายกับระเบียบวิธีปฏิบัติจะอยู่ที่นโยบายเป็นเรื่องของการวางหลักปฏิบัติทั่วๆ ไป ส่วนระเบียบวิธีปฏิบัติจะบอกให้ทราบว่า จะต้องทำอะไร ทำอย่างไรเพื่อให้สัมฤทธิ์ผล ดังนั้นจึงมีผู้กล่าว่า ระเบียบปฏิบัติ คือ แผนซึ่งกำหนดแนวปฏิบัติที่เฉพาะเจาะจงภายในนโยบายที่วางไว้
- กฎ (Rule) หมายถึง แผนงานประจำที่มีความเฉพาะเจาะจง จำเป็นต้องปฏิบัติ กฎจะชี้ให้เห็นถึงวิธีปฏิบัติงานโดยไม่มีการลำดับเหตุการณ์ กฎอาจเป็นหรือไม่เป็นส่วนหนี่งของวิธีปฏิบัติก็ได้ และถ้านโยบายที่นำมาใช้ไม่เปิดโอกาสให้ผู้กรำได้ใช้ดุลพินิจในการปฏิบัติงานแล้วถูกเรียกว่ากฎทันที
4.2 แผนใช้เฉพาะครั้ง (Single-Use Plan) หมายถึง แผนที่เตรียมขึ้นอย่างเฉพาะเจาะจงกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวแล้วจะไม่มีโอกาสเกิดขึ้นอีก (one time Goal ) เมื่อบรรลุผลตามที่กำหนดแล้วจะเลิกใช้แผนนั้น ๆ แต่ถ้าสถานการณ์เอื้ออำนวยจะนำกลับมาใช้ใหม่อีกก็ได้ แผนประเภทนี้ได้แก่
4.2.1 โปรแกรมหรือ แผนงาน (Program) เป็นแผนที่ถูกจัดให้อยู่ในลำดับสูงสุดของแผนใช้เฉพาะครั้ง (การวางแผนและควบคุมการบริหาร)โปรแกรมจะครอบคลุมกิจกรรมที่คาดว่าจะต้องกระทำทั้งหมด หรือเพื่อใช้กับสถานการณ์ที่ค่อนข้างยุ่งยากและสลับซับซ้อนในการแก้ปัญหา (Management) เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสม
พัชมน มนต์วิมลพร 12590053
ตอบลบเครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
(3)แกนต์ชาร์ต
การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(นางสาวชนาวาส บัววงค์)12590013
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต
ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้(ปวีณา เกตุแย้ม 12590047)
ปัจจุบันการวางแผนที่มีประสิทธิภาพไม่ว่าจะเป็นการวางแผนในระดับใดก็ตามผู้ บริหารมักนำเอาเทคนิคและเครื่องมือการวางแผนมาใช้พิจารณาประกอบการวางแผน ด้วยเสมอการนำเอาเทคนิคและเครื่องมือการวางแผนมาใช้ประกอบการวางแผนนั้นจะ ช่วยให้ผู้บริหารสามารถวิเคราะห์สภาวะการณ์เพื่อทำการวางแผนได้ อย่างเหมาะสมยิ่งขึ้น โดยทั่วไปเทคนิคและเครื่องมือการวางแผนจะประกอบไปด้วยทั้งเทคนิคการวางแผน เชิงปริมาณและเทคนิคการวางแผนเชิงคุณภาพ ดังจะอธิบายดังต่อไปนี้
ตอบลบ1. เทคนิคการพิจารณาสภาวะแวดล้อม (Environmental scanning) เป็นการพิจารณาสภาวะแวดล้อมขององค์การที่มักพิจารณาสภาพการณ์ของคู่แข่งหรือ องค์การอื่นที่มีความเกี่ยวข้อง แล้วนำผลมาใช้วิเคราะห์ประกอบการวางแผนขององค์การ การพิจารณาดังกล่าวอาจทำได้ในรูปแบบดังนี้
• การพิจารณาความฉลาดของคู่แข่ง (Competitor intelligence) เป็นกระบวนการในการรวบรวมข้อมูลของคู่แข่งมาให้ได้มากที่สุด แล้วนำมากลั่นกรองวิเคราะห์ว่าความเป็นไปของคู่แข่งนั้นจะมีผลกระทบต่อ องค์การของเราอย่างไร คู่แข่งมีแนวโน้มจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร แล้วนำข้อมูลนี้มาเป็นข้อมูลที่ใช้ในการวางแผนรองรับ
• การเปรียบมวย (Benchmarking) เป็นการวิเคราะห์เปรียบเทียบองค์การของเรากับองค์การอื่นที่ดีที่สุด ซึ่งอาจเป็นองค์การในธุรกิจเดียวกันหรือธุรกิจอื่นๆที่ไม่ใช่คู่แข่งขัน แล้วนำจุดเด่นเหล่านั้นมาประยุกต์ใช้กับองค์การของตน
• การพิจารณาในระดับนานาชาติ (Global scanning) เป็นการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลของสภาวะแวดล้อมในระดับนานาชาติ
2. การพยากรณ์ (Forecasting) เป็นเทคนิคที่ใช้ข้อมูลในอดีตมาหาแนวโน้มที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นในอนาคตโดย อาศัยวิธีการทางสถิติ เทคนิคนี้จะช่วยให้องค์การสามารถคาดการณ์สถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นและส่งผล กระทบกับองค์การล่วงหน้าได้ ซึ่งผลจากการพยากรณ์จะช่วยให้องค์การสามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงได้ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เทคนิคที่นิยมใช้ในการพยากรณ์ได้แก่ การวิเคราะห์ถดถอย (Regression analysis), การวิเคราะห์อนุกรมเวลา (Time series analysis) หรือการหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ (Moving average method) เป็นต้น
(มณฑล น้ำแก้ว 12590065)
- เครื่องมือที่จะทำให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพมีอยู่หลากหลายวิธี โดยจะเลือกมาหนึ่งวิธีนั้นก็คือ การใช้ Benchmarking เป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์กรทำให้องค์กรสามารถตั้งเป้าหมายที่ตรงกับความเป็นจริงได้สามารถเพิ่มผลิตภาพขององค์กร ทำให้องค์กรมองตัวเองได้ดีขึ้น ทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะของตนเองเมื่อเทียบกับองค์กรอื่นอีกทั้งเป็นการกระตุ้นให้พนักงานเกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรในด้านการสร้างความพึงพอใจของลูกค้าการลดระยะเวลาในการผลิตหรือให้บริการ การลดของเสีย การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานการส่งมอบ และการลดต้นทุน
ตอบลบ-การนำ Benchmarking มาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์กรผู้บริหารต้องเข้าใจถึงกระบวนการอย่างน้อย 4 ขั้นตอน คือ
1.UNDERSTANDING เป็นการสร้างความเข้าใจในหลักการ วิธีการ และผลที่จะได้รับขององค์กรและบุคลากรรวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด
2.MIRROR&FUNCTION เป็นการสะท้อนภาพกระบวนการทั้งกระบวนการหลักและสนับสนุนขององค์กร ทำให้มองเห็นภาพโครงสร้างองค์กรภาพของกิจกรรมกระบวนการและข้อมูลในองค์กร ผังกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process Mapping) การทำงานและหน้าที่ความรับผิดชอบในแต่ละบทบาท
3.TIME&ANALYSIS เมื่อทราบกระบวนการทางธุรกิจและกิจกรรมที่เชื่อมต่อกันในกระบวนการแล้วการวิเคราะห์องค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้ทั้งหมดในกิจกรรมทำให้สามารถสรุปได้ว่าจุดที่ควรปรับปรุงหรือพัฒนาให้ดีขึ้นนั้นอยู่ที่ใดในกระบวนการ
4.IMPROVEMENT เป็นการปรับปรุงองค์กรโดยนำเครื่องมือการพัฒนาองค์กรต่างๆ มาใช้ เช่น Benchmarking โดยมองที่ประเด็นสำคัญ คือเราอยู่ที่ไหน ใครเก่งที่สุด เขาทำได้อย่างไร และทำอย่างไรให้ดีกว่าเขา
นางสาวณัฐนรี สีทองสุก 12590022
เครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นเครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลงเพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผนรวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
ตอบลบ1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน (Function-oriented Project Manager ment) เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆอาทิหลักการและเหตุผลวัตถุประสงค์กำหนดเวลาสถานที่วิธีการผู้ร่วมโครงงานผู้รับผิดชอบโครงงานและงบประมาณ
2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ (Responsibility-oriented Project Management) การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้นต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จเครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วนพร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3. แกนต์ชาร์ต (Gant Chart) การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลาพร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนแกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลายเนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวมเพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(ณัฐนพิน ชินวัฒนา 12590021)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
(3)แกนต์ชาร์ต
การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(เอเซีย พิทยาพละ 12590112)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโโยทั่วไป ได้แก่
1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(สิทธิชัย พ่อค้าเรือ 12590083)
ผู้บริหารควรใช้เครื่องมือเพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้
ตอบลบ1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ เป็นต้น
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงการที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆ นั้นต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วนพ พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงการด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือวางแผนโดยใช้กันอย่างแพร่หลายเนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลา
(น.ส.หมายขวัญ นวลอุไร 12590099)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
(3)แกนต์ชาร์ต
การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(สมภพ ขุนทรง 12590079)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโโยทั่วไป ได้แก่
1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(นายชินวัตร พิพัฒน์พงศานนท์ 12590015)
-เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
(3)แกนต์ชาร์ต
การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(สิริกร ราชมณี 12590084)
-เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
(3)แกนต์ชาร์ต
การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(จุฬาลักษณ์ สกุลวงวาร 12590010)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโโยทั่วไป ได้แก่
1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(สุรีรัตน์ สระเกตุ 12590098 )
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
(3)แกนต์ชาร์ต
การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(นางสาวณัฐรี เต่าแก้ว 12590026)
ครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่
ตอบลบ1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น
2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้ขตอนอย่างชัดเจน
(ดวงหทัย โฉมมา 12590029)
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่
ตอบลบ1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น
2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนและเหมาะสม
(นางสาวสุชานรี เวียนมานะ 12590089)
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่
ตอบลบ1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น
2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้ขตอนอย่างชัดเจน
(สัจจะ ปฎิบัติดี 12590081)
เครื่องมือต่าง ๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่าง ๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่
ตอบลบ1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่าง ๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้ขตอนอย่างชัดเจน
(วริศ เอี๊ยวชัยพร 070)
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่
ตอบลบ1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น
2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนและเหมาะสม
(นางสาวภัทราพร ผังรักษ์ 12590061)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นเครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลงเพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผนรวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน (Function-oriented Project Manager ment) เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆอาทิหลักการและเหตุผลวัตถุประสงค์กำหนดเวลาสถานที่วิธีการผู้ร่วมโครงงานผู้รับผิดชอบโครงงานและงบประมาณ
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ (Responsibility-oriented Project Management) การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้นต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จเครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วนพร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต (Gant Chart) การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลาพร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนแกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลายเนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวมเพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(นางสาวณัฎฐา กมลศิลป์ 12590018)
ตอบลบ-เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
(3)แกนต์ชาร์ต
การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(ปาลิตา มนัสปัญญากุล 12590049)
-เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
(3)แกนต์ชาร์ต
การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(สุรีรัตน์ ศักดิ์ภิรมย์ 12590954)
เครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่
ตอบลบ1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น
2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจนและเหมาะสม
นายธรรศธรรม จำปาทอง 12590790
ตอบลบเครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
(3)แกนต์ชาร์ต
การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(วิลาสินี เกตุแก้ว 12590073)
ผู้บริหารควรนำเครื่องมือเหล่านี้ที่ใช้ในการวางแผนไปใช้ให้สัมฤทธิผลและเกิดประสิทธิภาพแก่องค์กร
ตอบลบแผน (Plan)
- วิธีการซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อให้การทำงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย
- จำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องกับเป้าหมาย
- และสนับสนุนให้องค์กรบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจที่กำหนดขึ้น
แผนตามปริมาณการใช้งาน
แผนที่ใช้ครั้งเดียว (Single-use Plan)
- โครงงาน (Project) : ระบุกิจกรรม วิธีการทำงาน กำหนดเวลา ฯลฯ
- โครงการ (Program) : ประกอบด้วยกิจกรรม/โครงงานหลายอย่างรวมด้วยกัน
แผนที่ใช้ประจำ (Standing Plan)
- กฎ (Rules) : ระบุสิ่งที่ต้องกระทำหรือห้ามกระทำ,
ไม่ต้องใช้วิจารณญาณ
- นโยบาย (Policy) : ระบุแนวทางกว้างๆในการปฏิบัติงาน
ใช้วิจารณญาณ
- ระเบียบวิธีปฏิบัติ (Procedures) : ระบุรายละเอียดและ
วิธีปฏิบัติแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน
แผนฉุกเฉิน (Contingency Plan)
- ไม่มีกำหนดระยะเวลาการใช้งานที่ชัดเจน
- นำมาใช้เมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน
น.ส.วราภรณ์ ขันสมบัติ 12590069
ตอบลบเครื่องมือต่างๆ ในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมืต่างๆ เหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้ขตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่
1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงานซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ต้องใช้เป็นต้น
2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้ขตอนอย่างชัดเจน
(พงศธร ศิริสมบูรณ์ 12590052)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
(1)การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน
เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
(2)การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ
การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
(3)แกนต์ชาร์ต
ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(ชุติกาญจน์ ปานดารา 12590016)
เครื่องมือในการวางแผน (Planning Tools)
ตอบลบเครื่องมือต่างๆในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
ตัวอย่างเครื่องมือในการวางแผนที่นิยมใช้กันโโยทั่วไป ได้แก่
1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้ เป็นต้น
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(อัษฎาวุธ เขตเจริญ 12590106)
-เครื่องมือที่จะทำให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพมีอยู่หลากหลายวิธี โดยจะเลือกมาหนึ่งวิธีนั้นก็คือ การใช้ Benchmarking เป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์กรทำให้องค์กรสามารถตั้งเป้าหมายที่ตรงกับความเป็นจริงได้สามารถเพิ่มผลิตภาพขององค์กร ทำให้องค์กรมองตัวเองได้ดีขึ้น ทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะของตนเองเมื่อเทียบกับองค์กรอื่นอีกทั้งเป็นการกระตุ้นให้พนักงานเกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรในด้านการสร้างความพึงพอใจของลูกค้าการลดระยะเวลาในการผลิตหรือให้บริการ การลดของเสีย การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานการส่งมอบ และการลดต้นทุน
ตอบลบ-การนำ Benchmarking มาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์กรผู้บริหารต้องเข้าใจถึงกระบวนการอย่างน้อย 4 ขั้นตอน คือ
1.UNDERSTANDING เป็นการสร้างความเข้าใจในหลักการ วิธีการ และผลที่จะได้รับขององค์กรและบุคลากรรวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด
2.MIRROR&FUNCTION เป็นการสะท้อนภาพกระบวนการทั้งกระบวนการหลักและสนับสนุนขององค์กร ทำให้มองเห็นภาพโครงสร้างองค์กรภาพของกิจกรรมกระบวนการและข้อมูลในองค์กร ผังกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process Mapping) การทำงานและหน้าที่ความรับผิดชอบในแต่ละบทบาท
3.TIME&ANALYSIS เมื่อทราบกระบวนการทางธุรกิจและกิจกรรมที่เชื่อมต่อกันในกระบวนการแล้วการวิเคราะห์องค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้ทั้งหมดในกิจกรรมทำให้สามารถสรุปได้ว่าจุดที่ควรปรับปรุงหรือพัฒนาให้ดีขึ้นนั้นอยู่ที่ใดในกระบวนการ
4.IMPROVEMENT เป็นการปรับปรุงองค์กรโดยนำเครื่องมือการพัฒนาองค์กรต่างๆ มาใช้ เช่น Benchmarking โดยมองที่ประเด็นสำคัญ คือเราอยู่ที่ไหน ใครเก่งที่สุด เขาทำได้อย่างไร และทำอย่างไรให้ดีกว่าเขา
(น.ส.ดารารัตน์ ดาสาลี 12590030)
เครื่องมือในการวางแผนสามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยลดเวลาตามขั้นตอนวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้อง และช่วยอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน โดยเครื่องมือดังนี้
ตอบลบ1. การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงการซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่าง ๆ เช่น หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กำหนดเวลา สถานที่ เป็นต้น
2. การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3. แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียดและช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน และเป็นเครื่องมือที่ใช้อย่างแพร่หลาย
เครื่องมือในการวางแผน เครื่องมือต่างๆในการวางแผน สามารถช่วยสนับสนุนให้การวางแผนและดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เครื่องมือต่างๆเหล่านี้จะช่วยลดเวลาตามขั้นตอนการวางแผนลง เพิ่มความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันระหว่างผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดตามผลการดำเนินการตามแผน
ตอบลบ1.การบริหารโครงการตามองค์ประกอบงาน เป็นการวางแผนโครงงาน ซึ่งผู้บริหารต้องกำหนดแผนงานให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญต่างๆ อาทิ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์กำหนดเวลา สถานที่ วิธีการ ผู้ร่วมโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน และงบประมาณที่ใช้
2.การบริหารโครงการตามความรับผิดชอบ การบริหารโครงงานที่เกิดขึ้นจากหลักการการดำเนินการต่างๆนั้น ต้องมีผู้รับผิดชอบอำนวยการให้แล้วเสร็จ เครื่องมือในการวางแผนนี้จึงเน้นการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานแต่ละส่วน พร้อมทั้งระบุขอบเขตหน้าที่และกรอบเวลาอย่างชัดเจน
3.แกนต์ชาร์ต การบริหารโครงงานด้วยเครื่องมือนี้ ทำได้โดยการจัดเรียงขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละขั้นเรียงกันไปตามลำดับเวลา พร้อมทั้งระบุรายละเอียด และช่วงเวลาในการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน แกนต์ชาร์ตเป็นเครื่องมือในการวางแผนที่ใช้กันแพร่หลาย เนื่องจากผู้วางแผนและผู้บริหารโครงการสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สอดคล้องกับช่วงเวลาที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถระบุขั้นตอนการทำงานในส่วนที่มีโอกาสสร้างความติดขัดให้กับกระบวนการโดยรวม เพื่อป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้
(นางสาวศศิประภา ผาดศรี 12590075)
เครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนงาน ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด
ตอบลบ1. การพยากรณ์ (Forecasting) เป็นเทคนิคที่ใช้ข้อมูลในอดีตมาหาแนวโน้มที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นในอนาคตโดย อาศัยวิธีการทางสถิติ เทคนิคนี้จะช่วยให้องค์การสามารถคาดการณ์สถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นและส่งผลกระทบกับองค์การล่วงหน้าได้
2. การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยวางแผน โปรแกรมนี้ยังช่วยเป็นโปรแกรมที่สนับสนุนในด้านข้อมูลและช่วยในการวางแผน ทางการเงิน การบริหารการตลาด การจัดซื้อ การขายและการขนส่ง การบริหารบุคคล และงานอื่น ๆทั่วทั้งองค์การ โปรแกรมนี้ได้ถูกตั้งชื่อว่า ERP (Enterprise Resource Planning) ปัจจุบันมีผู้จำหน่ายโปรแกรมนี้อยู่ทั่วโลกและได้มีการนำมาใช้งาน และพัฒนาประสิทธิภาพการใช้งานอยู่อย่างต่อเนื่อง
3. การใช้เทคนิคทางการวิจัยการดำเนินงาน (Operation research) เป็นเทคนิคที่ประยุกต์ใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติในการแก้ปัญหาโดยมุ่ง เน้นผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด เช่น การหาเส้นทางขนส่งที่ทำให้เกิดต้นทุนต่ำสุดและขนส่งได้ทันเวลา
(นางสาวอรวี ศรีวิโน 12590103)