วันอังคารที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2562

2.กระบวนการวางแผนมีลำดับขั้นตอนอย่างไร เพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผู้บริหารควรมีวิธีการวางแผนอย่างไร องค์ประกอบต่างๆของกระบวนการวางแผนมีความสำคัญต่อองค์กรอย่างไร

72 ความคิดเห็น:

  1. กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงานแบ่งได้เป็น 8 ขั้นตอน มีรายละเอียดในการดำเนินการแต่ละขั้นดังนี้
    1. การดำเนินการก่อนการวางแผน
    เป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผน เตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การกำหนดวิธีการวางแผน และการรวบรวมข้อมูล
    2. การวิเคราะห์ปัญหา
    พิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่างๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุงเพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพขึ้นอย่างไรบ้าง

    3. การกำหนดแผนงาน
    พิจารณาและวิเคราะห์ปัญหาว่ามีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง จัดแบ่งเป็นกลุ่มที่เรียกว่า แผนงาน ซึ่งหมายถึง จุดรวมของหน่วยงานที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ได้ผลรวมที่คล้ายคลึงกัน
    4. การกำหนดเป้าหมาย
    ต้องกำหนดให้ชัดเจนทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติ เป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน
    5. การกำหนดวิธีการดำเนินการ
    ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน 3 ด้าน คือการกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล การกำหนดวิธีปฏิบัติงานนั้นต้องอาศัยข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์มาแล้ว พิจารณาว่าการที่จะทำงานนั้นๆ ให้ลุล่วงได้ดีจะมีวิธีการทำอย่างไรบ้าง บันทึกแนวคิดทั้งหมดไว้ และนำมาวิเคราะห์ว่าวิธีการใดจะดีที่สุด และต้องกำหนดว่างานแต่ละอย่างจะต้องเริ่มต้นทำเมื่อใด และเสร็จสิ้นเมื่อใด ใช้เวลามากน้อยเพียงใด และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลา และผู้รับผิดชอบนี้ถ้าจัดทำเป็นแผนภูมิปฏิบัติงาน (Gantt chart) ก็จะดูได้ง่ายขึ้น
    6. การกำหนดค่าใช้จ่าย
    องค์จะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้นๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร และรวมเงินที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมดเป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร ค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะได้มาจากแหล่งเงินทุนใดควรระบุไว้ให้ชัดเจนด้วย
    7. การปฏิบัติตามแผน
    ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนด
    8. การประเมินผลและปรับปรุงแผน
    องค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าพบว่ามีปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานในขั้นตอนใด ก็จะต้องมีการปรับปรุงแผนที่กำหนดไว้
    การปฏิบัติงานให้ได้ผลดีนั้นองค์การจะต้องมีการวางแผนงานล่วงหน้า โดยอาศัยการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นพื้นฐานการกำหนดงานในแผนงาน การเขียนแผนงานองค์การต้องพยายามเขียนให้ชัดเจน การกำหนดจุดประสงค์ ขั้นตอนการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบเวลา และค่าใช่จ่ายที่ระบุไว้ชัดเจนจะช่วยให้การปฏิบัติตามแผนงาน เป็นไปตามที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ
    (ปิยาภรณ์ ชินวงค์พรหม 12590051)

    ตอบลบ
  2. ไม่ระบุชื่อ24 สิงหาคม 2562 เวลา 02:30

    -การวางแผนถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญสำหรับผู้บริหารที่ต้องการจะประสบความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กรผู้บริหารจำเป็นต้องทราบว่ากระบวนการวางแผนประกอบด้วยขั้นตอน 3 ขั้น ได้แก่ 1. การกำหนดพันธกิจ 2. การตั้งเป้าหมายและ 3. การจัดทำแผน ซึ่งผู้บริหารจำเป็นต้องดำเนินการที่ละขั้นตอนให้ครบทั้ง 3 ขั้นตอนและสอดคล้องกัน จึงจะเป็นการวางแผนที่ครบถ้วนสมบูรณ์ ดังนี้

    1.การกำหนดพันธกิจ เป็นการอธิบายเหตุผลการดำรงอยู่ขององค์กรและกำหนดกรอบขอบเขตการดำเนินการของสมาชิกในองค์กรให้ชัดเจน
    2.การตั้งเป้าหมาย เป็นการกำหนดสิ่งที่ประสงค์จะให้เกิดขึ้นในเชิงรูปธรรม เพื่อให้สมาชิกในองค์กรทราบทิศทางการดำเนินงานขององค์กรและร่วมกันปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายนั้นๆ ผู้บริหารควรตระหนักว่าการตั้งเป้าหมายที่ดีจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานขององค์กรได้ และเป้าหมายที่ผู้บริหารสามารถเลือกมาประยุกต์ใช้กับองค์กรนั้นแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท มีหลายลักษณะควรประกอบด้วยเนื้อหาที่เหมาะสมและจูงใจให้สมาชิกปฏิบัติให้ถึงเป้าหมายด้วยความเต็มใจและนำไปสู่ความสำเร็จขององค์กร
    3.การจัดทำแผน เป็นวิธีการกำหนดขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องและสนับสนุนเป้าหมายที่กำหนดไว้ ผู้บริหารควรทราบประเภทของแผนที่ใช้งานกันโดยทั่วไป และเข้าใจลักษณะของแผนที่ดี เพื่อสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับองค์กร การดำเนินงานตามกระบวนการวางแผนนั้น อาจมีอุปสรรคหรือข้อจำกัดที่ผู้บริหารควรศึกษาและบริหารจัดการอย่างเหมาะสม เพื่อมิให้ส่งผลเสียต่อองค์กร ผู้บริหารที่สามารถวางแผนได้ดีนอกจากจะเป็นจุดเริ่มต้นในการเป็นผู้บริหารที่ดี แล้วยังเป็นเครื่องประกันความสำเร็จของตนเองและองค์กรอีกส่วนหนึ่ง สมดังที่มีผู้กล่าวไว้ว่าการเริ่มต้นที่ดีย่อมทำให้เกิดความสำเร็จไปแล้วครึ่งหนึ่ง
    (อภิษฐา เนียมศิริ 12590101)

    ตอบลบ
  3. กระบวนการวางแผน คือ กระบวนการในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมองค์กรทั้งภายในและภายนอก วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่คาดหวังเพื่อให้องค์การเป็นและไปให้ถึงในอนาคต วิธีการเพื่อนำไปสู่จุดหมายที่ต้องการและการปฏิบัติที่คาดหวังเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายนั้น สิ่งเหล่านี้คือกระบวนการในการวางแผนซึ่งประกอบด้วย
    1. การตั้งข้อสมมุติฐานเกี่ยวกับอนาคต ได้แก่ กระบวนการในการพิจารณา วิเคราะห์ ตัดสินใจ และคาดเดา เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร ทั้งในปัจจุบันตลอดจนโอกาสความน่าจะเป็นที่เป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์ในอนาคต เช่น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม การเมือง ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสและข้อจำกัด ซึ่งมีผลกระทบต่อจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กร เพื่อแสวงหาทิศทาง วิธีการนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
    2. การกำหนดวัตถุประสงค์ คือ การหาคำตอบของคำถามที่ว่า วิสัยทัศน์และภารกิจขององค์กรคืออะไร ? ขณะนี้องค์กรยืนอยู่ ณ จุดไหน ? ในอนาคตต้องการให้องค์กรเป็นอย่างไร ? อะไรคือเป้าหมายพื้นฐานและอะไรคือเป้าหมายเฉพาะ ? การกำหนดวัตถุประสงค์จะทำให้เห็นเป้าหมายที่ชัดเจน และทำให้วางแผนได้ชัดเจน แม่นตรง ต่อเป้าหมายที่วางไว้
    3. การกำหนดกลยุทธ์และการพัฒนากลยุทธ์ จัดเป็นการค้นหาวิธีการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่วางไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กรเป็นพื้นฐานในการพัฒนาตัดสินใจ เพื่อเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุดเพื่อเป็นการวางแผนและปฏิบัติการ
    4. การกำหนดเป้าหมาย ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายเฉพาะของหน่วงงาน ซึ่งเป้าหมายจะต้องมีลักษณะที่สามารถวัดได้เป็นตัวเลขและ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ระยะยาวขององค์กร
    5. การกำหนดแผนปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติงานจะเกิดขึ้นควบคู่กับเป้าหมายและ กลยุทธ์ เพื่อให้มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการลำดับขั้นตอนของการปฏิบัติงานอย่างชัดเจนว่าจะทำอะไร ในช่วงเวลาใด จะต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้างและปริมาณเท่าใด งานนั้น ๆจะแล้วเสร็จเมื่อใด เป็นต้น การกำหนดแผนปฏิบัติงานจะทำให้สามารถตรวจสอบผลการดำเนินงานได้ว่า งานนั้นดำเนินไปได้เพียงใด มีปัญหาอุปสรรคอะไรที่ขัดขวางและจะแก้ปัญหาอุปสรรคเหล่านั้นได้อย่างไรเพื่อให้สำเร็จลุล่วงตามแผน
    6. การปฏิบัติตามแผน คือ ขั้นตอนของการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้เพื่อหาคำตอบว่า แผนที่วางไว้จะก่อให้เกิดประสิทธิผลหรือไม่ มากหรือน้อยเพียงใด และอะไรคือ ปัญหาอุปสรรคขวางกั้นมิให้การดำเนินงานประสบผลสำเร็จตามที่คาดหวัง ตลอดจนหาวิธีการในการแก้ไขปัญหาให้ลุล่วง
    7. ข้อมูลย้อนกลับ คือ การประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการประเมินนั้น ๆ ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่เพราะเหตุใด เพื่อแสวงหาวิธีการในการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป
    (นางสาวอัมรินทร์ เกมอ 12590105)

    ตอบลบ
  4. กระบวนการวางแผน คือ กระบวนการในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม องค์กรทั้งภายในและภายนอก วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่คาดหวัง เพื่อให้องค์การเป็นและไปให้ถึงในอนาคต วิธีการเพื่อนำไปสู่จุดหมายที่ต้องการและการปฏิบัติที่คาดหวัง เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายนั้น สิ่งเหล่านี้คือ กระบวนการในการวางแผนซึ่งประกอบด้วย
    1. การตั้งข้อสมมุติฐานเกี่ยวกับอนาคต ได้แก่ กระบวนการในการพิจารณา วิเคราะห์ ตัดสินใจ และคาดเดา เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร ทั้งในปัจจุบันตลอดจนโอกาสความน่าจะเป็นที่เป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์ในอนาคต เช่น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม การเมือง ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสและข้อจำกัด ซึ่งมีผลกระทบต่อจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กร เพื่อแสวงหาทิศทาง วิธีการนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
    2. การกำหนดวัตถุประสงค์ คือ การหาคำตอบของคำถามที่ว่า วิสัยทัศน์และภารกิจขององค์กรคืออะไร ? ขณะนี้องค์กรยืนอยู่ ณ จุดไหน ? ในอนาคตต้องการให้องค์กรเป็นอย่างไร ? อะไรคือเป้าหมายพื้นฐานและอะไรคือเป้าหมายเฉพาะ ? การกำหนดวัตถุประสงค์จะทำให้เห็นเป้าหมายที่ชัดเจน และทำให้วางแผนได้ชัดเจน แม่นตรง ต่อเป้าหมายที่วางไว้
    3. การกำหนดกลยุทธ์และการพัฒนากลยุทธ์ จัดเป็นการค้นหาวิธีการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่วางไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กรเป็นพื้นฐานในการพัฒนาตัดสินใจ เพื่อเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุดเพื่อเป็นการวางแผนและปฏิบัติการ
    4. การกำหนดเป้าหมาย ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายเฉพาะของหน่วงงาน ซึ่งเป้าหมายจะต้องมีลักษณะที่สามารถวัดได้เป็นตัวเลขและ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ระยะยาวขององค์กร
    5. การกำหนดแผนปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติงานจะเกิดขึ้นควบคู่กับเป้าหมายและ กลยุทธ์ เพื่อให้มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการลำดับขั้นตอนของการปฏิบัติงานอย่างชัดเจนว่าจะทำอะไร ในช่วงเวลาใด จะต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้างและปริมาณเท่าใด งานนั้น ๆจะแล้วเสร็จเมื่อใด เป็นต้น การกำหนดแผนปฏิบัติงานจะทำให้สามารถตรวจสอบผลการดำเนินงานได้ว่า งานนั้นดำเนินไปได้เพียงใด มีปัญหาอุปสรรคอะไรที่ขัดขวางและจะแก้ปัญหาอุปสรรคเหล่านั้นได้อย่างไรเพื่อให้สำเร็จลุล่วงตามแผน
    6. การปฏิบัติตามแผน คือ ขั้นตอนของการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้เพื่อหาคำตอบว่า แผนที่วางไว้จะก่อให้เกิดประสิทธิผลหรือไม่ มากหรือน้อยเพียงใด และอะไรคือ ปัญหาอุปสรรคขวางกั้นมิให้การดำเนินงานประสบผลสำเร็จตามที่คาดหวัง ตลอดจนหาวิธีการในการแก้ไขปัญหาให้ลุล่วง
    7. ข้อมูลย้อนกลับ คือ การประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการประเมินนั้น ๆ ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่เพราะเหตุใด เพื่อแสวงหาวิธีการในการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป
    (นางสาวณัฐพร ทองปลิว 12590024)

    ตอบลบ
  5. 2. กระบวนการวางแผนมีลำดับขั้นตอนอย่างไร เพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผู้บริหารควรมีวิธีการวางแผนอย่างไร แต่ละส่วนมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
    ตอบ : กระบวนการวางแผนประกอบไปด้วยขั้นตอนหลัก 3 ประการ ได้แก่
    1. การกำหนดพันธกิจ
    2. การกำหนดเป้าหมาย
    3. การกำหนดผนงาน
    เพื่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธภาพและประสิทธิผลผู้บริหารจำเป็นต้องดำเนินการให้ครบถ้วนทั้ง 3 ขั้นตอน คือ กำหนดพันธกิจ ตั้งเป้าหมาย และกำหนดแผนงาน จากนั้นจึงนำแผนงานนั้นไปสื่อการให้สมาชิกในองค์กรเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
    ซึ่งแต่ละส่วนมีความสัมพันธ์กัน ดังนี้
    พันธกิจ คือ เหตุผลในการดำรงอยู่และขอบเขตในการดำเนินงานขององค์กร ซึ่งมีความโดดเด่นและเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เมื่อองค์กรได้กำหนดพันธกิจขององค์กรแล้ว ผู้บริหารต้องกำหนดเป้าหมายเป็นลำดับถัดไป ทั้งนี้ เป้าหมายขององค์กร หมายถึง ผลลัพธ์ซึ่งองค์กรมุ่งประสงค์จากการดำเนินงาน ผู้บริหารจำเป็นต้องกำหนดเป้าหมายให้สอดคล้องกับพันธกิจ เมื่อองค์กรกำหนดพันธกิจและเป้าหมายการดำเนินงานที่ชัดเจนแล้ว กิจกรรมต่อไปของกระบวนการวางแผนคือ การจัดทำแผนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนด แผน จึงหมายถึง วิธีการซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องกับเป้าหมายและสนับสนุนให้องค์กรสามารถบรรลุป้าหมายตามพันธกิจที่กำหนดขึ้น
    นางสาวสุดารัตน์ สุขสาม (รหัส 12590090)

    ตอบลบ
  6. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  7. กระบวนการวางแผนเป็นกระบวนการที่สำคัญอย่างหนึ่งของการบริหาร  และเป็นกระบวนการท่ามีลักษณะของความเป็น  “ศาสตร์” และความเป็น “ศิลป์”  ผู้ที่บริหารพึงต้องมีความเข้าใจและมีทักษะ  มีความชำนาญในการนำไปใช้  จึงจะทำให้การบริหารงานบรรลุถึงวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพอย่างแท้จริงที่กล่าวว่าการวางแผนเป็นศาสตร์  เพราะการวางแผนมีองค์ความรู้  เป็นการเฉพาะผู้ที่บริหารและนักวางแผนจะต้องเรียนรู้  ส่วนการวางแผนเป็นศิลป์  เพราะการวางแผนเมื่อกำหนดขึ้นแล้วการนำไปปฏิบัติหรือนำไปใช้นั้นผู้บริหารจะต้องใช้เทคนิควิธีการต่าง ๆ  อย่างมาก   เพื่อผลักดันให้ทรัพยากรทุกชนิดที่ต้องใช้ในแผนได้ทำงานตามหน้าที่ของมัน  และในขณะเดียวกันผู้บริหาร  หรือผู้ใช้แผนจะต้องผสมผสานปัจจัยและสภาพแวดล้อมต่าง ๆ  เข้าด้วยกัน  เพื่อให้แผนทั้งแผนหรือโดยส่วนใหญ่ของแผนสามารถดำเนินการได้โดยจะต้องพยายามปรับแผนและสภาพแวดล้อมให้สอดคล้องกันตลอดเวลา มีทั้งหมด 3 ขั้นตอน คือ กำหนดพันธกิจ ตั้งเป้าหมาย และกำหนดแผนงาน ผู้บริหารควรมีการวางแผนโดยนำแผนงานนั้นไปสื่อสารให้สมาชิกในองค์กรเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
    (อารียา ปานทอง 12590109)

    ตอบลบ
  8. กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงาน
    ประกอบด้วย8 ขั้นตอน
    โดยมีรายละเอียดในการดำเนินการแต่ละขั้นดังนี้
    1. การดำเนินการก่อนการวางแผน
    เป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผน เตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การกำหนดวิธีการวางแผน และการรวบรวมข้อมูล
    2. การวิเคราะห์ปัญหา
    พิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่างๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุงเพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพขึ้นอย่างไรบ้าง

    3. การกำหนดแผนงาน
    พิจารณาและวิเคราะห์ปัญหาว่ามีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง จัดแบ่งเป็นกลุ่มที่เรียกว่า แผนงาน ซึ่งหมายถึง จุดรวมของหน่วยงานที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ได้ผลรวมที่คล้ายคลึงกัน
    4. การกำหนดเป้าหมาย
    ต้องกำหนดให้ชัดเจนทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติ เป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน
    5. การกำหนดวิธีการดำเนินการ
    ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน 3 ด้าน คือการกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล การกำหนดวิธีปฏิบัติงานนั้นต้องอาศัยข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์มาแล้ว พิจารณาว่าการที่จะทำงานนั้นๆ ให้ลุล่วงได้ดีจะมีวิธีการทำอย่างไรบ้าง บันทึกแนวคิดทั้งหมดไว้ และนำมาวิเคราะห์ว่าวิธีการใดจะดีที่สุด และต้องกำหนดว่างานแต่ละอย่างจะต้องเริ่มต้นทำเมื่อใด และเสร็จสิ้นเมื่อใด ใช้เวลามากน้อยเพียงใด และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลา และผู้รับผิดชอบนี้ถ้าจัดทำเป็นแผนภูมิปฏิบัติงาน (Gantt chart) ก็จะดูได้ง่ายขึ้น
    6. การกำหนดค่าใช้จ่าย
    องค์จะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้นๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร และรวมเงินที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมดเป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร ค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะได้มาจากแหล่งเงินทุนใดควรระบุไว้ให้ชัดเจนด้วย
    7. การปฏิบัติตามแผน
    ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนด
    8. การประเมินผลและปรับปรุงแผน
    องค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าพบว่ามีปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานในขั้นตอนใด ก็จะต้องมีการปรับปรุงแผนที่กำหนดไว้
    การปฏิบัติงานให้ได้ผลดีนั้นองค์การจะต้องมีการวางแผนงานล่วงหน้า โดยอาศัยการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นพื้นฐานการกำหนดงานในแผนงาน การเขียนแผนงานองค์การต้องพยายามเขียนให้ชัดเจน การกำหนดจุดประสงค์ ขั้นตอนการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบเวลา และค่าใช่จ่ายที่ระบุไว้ชัดเจนจะช่วยให้การปฏิบัติตามแผนงาน เป็นไปตามที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ

    นายสุ​ก​ั​ลย์​ จันทร์​ตรี​ 12590087​

    ตอบลบ
  9. การวางแผนถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญสำหรับผู้บริหารที่ต้องการจะประสบความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กรผู้บริหารจำเป็นต้องทราบว่ากระบวนการวางแผนประกอบด้วยขั้นตอน 3 ขั้น
    1.การกำหนดพันธกิจ เป็นการอธิบายเหตุผลการดำรงอยู่ขององค์กรและกำหนดกรอบขอบเขตการดำเนินการของสมาชิกในองค์กรให้ชัดเจน
    2.การตั้งเป้าหมาย เป็นการกำหนดสิ่งที่ประสงค์จะให้เกิดขึ้นในเชิงรูปธรรม เพื่อให้สมาชิกในองค์กรทราบทิศทางการดำเนินงานขององค์กรและร่วมกันปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายนั้นๆ ผู้บริหารควรตระหนักว่าการตั้งเป้าหมายที่ดีจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานขององค์กรได้ และเป้าหมายที่ผู้บริหารสามารถเลือกมาประยุกต์ใช้กับองค์กรนั้นแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท มีหลายลักษณะควรประกอบด้วยเนื้อหาที่เหมาะสมและจูงใจให้สมาชิกปฏิบัติให้ถึงเป้าหมายด้วยความเต็มใจและนำไปสู่ความสำเร็จขององค์กร
    3.การจัดทำแผน เป็นวิธีการกำหนดขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องและสนับสนุนเป้าหมายที่กำหนดไว้ ผู้บริหารควรทราบประเภทของแผนที่ใช้งานกันโดยทั่วไป และเข้าใจลักษณะของแผนที่ดี เพื่อสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับองค์กร การดำเนินงานตามกระบวนการวางแผนนั้น อาจมีอุปสรรคหรือข้อจำกัดที่ผู้บริหารควรศึกษาและบริหารจัดการอย่างเหมาะสม เพื่อมิให้ส่งผลเสียต่อองค์กร ผู้บริหารที่สามารถวางแผนได้ดีนอกจากจะเป็นจุดเริ่มต้นในการเป็นผู้บริหารที่ดี แล้วยังเป็นเครื่องประกันความสำเร็จของตนเองและองค์กรอีกส่วนหนึ่ง สมดังที่มีผู้กล่าวไว้ว่าการเริ่มต้นที่ดีย่อมทำให้เกิดความสำเร็จไปแล้วครึ่งหนึ่ง
    (อภัสสร ปูชนียกุล 12590100)

    ตอบลบ
  10. ระบวนการวางแผนและปฏิบัติงานแบ่งได้เป็น 8 ขั้นตอน มีรายละเอียดในการดำเนินการแต่ละขั้นดังนี้
    1. การดำเนินการก่อนการวางแผน
    เป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผน เตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การกำหนดวิธีการวางแผน และการรวบรวมข้อมูล
    2. การวิเคราะห์ปัญหา
    พิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่างๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุงเพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพขึ้นอย่างไรบ้าง

    3. การกำหนดแผนงาน
    พิจารณาและวิเคราะห์ปัญหาว่ามีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง จัดแบ่งเป็นกลุ่มที่เรียกว่า แผนงาน ซึ่งหมายถึง จุดรวมของหน่วยงานที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ได้ผลรวมที่คล้ายคลึงกัน
    4. การกำหนดเป้าหมาย
    ต้องกำหนดให้ชัดเจนทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติ เป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน
    5. การกำหนดวิธีการดำเนินการ
    ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน 3 ด้าน คือการกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล การกำหนดวิธีปฏิบัติงานนั้นต้องอาศัยข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์มาแล้ว พิจารณาว่าการที่จะทำงานนั้นๆ ให้ลุล่วงได้ดีจะมีวิธีการทำอย่างไรบ้าง บันทึกแนวคิดทั้งหมดไว้ และนำมาวิเคราะห์ว่าวิธีการใดจะดีที่สุด และต้องกำหนดว่างานแต่ละอย่างจะต้องเริ่มต้นทำเมื่อใด และเสร็จสิ้นเมื่อใด ใช้เวลามากน้อยเพียงใด และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลา และผู้รับผิดชอบนี้ถ้าจัดทำเป็นแผนภูมิปฏิบัติงาน (Gantt chart) ก็จะดูได้ง่ายขึ้น
    6. การกำหนดค่าใช้จ่าย
    องค์จะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้นๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร และรวมเงินที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมดเป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร ค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะได้มาจากแหล่งเงินทุนใดควรระบุไว้ให้ชัดเจนด้วย
    7. การปฏิบัติตามแผน
    ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนด
    8. การประเมินผลและปรับปรุงแผน
    องค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าพบว่ามีปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานในขั้นตอนใด ก็จะต้องมีการปรับปรุงแผนที่กำหนดไว้
    การปฏิบัติงานให้ได้ผลดีนั้นองค์การจะต้องมีการวางแผนงานล่วงหน้า โดยอาศัยการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นพื้นฐานการกำหนดงานในแผนงาน การเขียนแผนงานองค์การต้องพยายามเขียนให้ชัดเจน การกำหนดจุดประสงค์ ขั้นตอนการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบเวลา และค่าใช่จ่ายที่ระบุไว้ชัดเจนจะช่วยให้การปฏิบัติตามแผนงาน เป็นไปตามที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ
    สุภัทษา สนธิช่วย 12590096

    ตอบลบ
  11. ข้อ 2
    ชนิดกระบวนการวางแผน คือ
    1. การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic planning) จัดทำโดยผู้บริหารระดับสูงซึ่งจะเป็นแผนระยะยาว มุ่งสนใจกำหนดวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ที่องค์กรต้องก้าวให้ถึงโดยอาศัยวิธีการคาดคะเนและประมาณการต่าง ๆ
    2. การวางแผนโครงการ (Program or Project planning)ทำโดยผู้บริหารระดับกลาง เป็นแผนระยะปานกลาง มุ่งเน้นการวางแผนทรัพยากรทำโดยการแปลความจากแผนระยะยาวออกเป็นแผนงาน/ โครงการ
    3. การวางแผนดำเนินงาน (Operational planning)ทำโดยผู้บริหารระดับต้น เป็นแผนระยะสั้น แปลความจาก แผนงาน/ โครงการ ออกเป็น แผนปฏิบัติงานละเอียดทั้งกำหนดเวลา และงบประมาณโดยชี้ว่าใครทำอะไร ที่ไหน ใคร อย่างไร มีการวิเคราะห์โดยละเอียดเกี่ยวกับเวลาที่ใช้จริงและรายละเอียดของงาน
    ขั้นตอนกระบวนการวางแผน

    1. ตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับอนาคต
    2. กำหนดวัตถุประสงค์
    3. พัฒนากลยุทธ์
    4. การสร้างเป้าหมายระยะปานกลาง
    5. กำหนดแผนปฏิบัติงาน
    6. ปฏิบัติตามแผน
    7. กลไกข้อมูลย้อนกลับ
    (อรณิชา ศรีสมัย 12590102)

    ตอบลบ
  12. เพื่อให้องค์กรปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิพลตามที่ประสงค์ กระบวนการวางแผนจึงประกอบด้วยขั้นตอน 3 ประการ ได้แก่
    1.การกำหนดพันธกิจ (Mission)พันธกิจ หมายถึง เหตุผลในการดำรงอยู่และขอบเขตในการดำเนินงานขององค์กร ซึ่งมีความโดดเด่นและเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ซึ่งการกำหนดพันธกิจของแต่องค์กรจะมีองค์ประกอบของพันธกิจที่แตกต่างกัน ทั้งนี้องค์กรแต่ละแห่งสามารถเลือกกำหนดพันธกิจได้จากประเด็นต่างๆ คือ ลูกค้า สินค้าหรือบริการ ทำเลที่ตั้ง เป้าหมายทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี ปรัญชา จุดแข็ง ภาพลักษณ์ต่อสาธารณะ และ พนักงาน
    2.การกำหนดเป้าหมาย(Types of Goals)เป้าหมายขององค์กร หมายถึง ผลลัพธ์ซึ่งองค์กรมุ่งประสงค์จากการดำเนินงาน ผู้บริหารจำเป็นต้องกำหนดเป้าหมายให้สอดคล้องกับพันธกิจ เพื่อให้องค์กรดำรงอยู่ได้ ตามพันธกิจที่กำหนดและสนับสนุนให้พันธกิจขององค์กรเป็นจริง
    3.แผนงาน(Plan)แผน หมายถึง วิธีการซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องกับเป้าหมาย และสนับสนุนให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจที่กำหนดขึ้น
    เพื่อให้ผู้บริหารสามารถวางแผนเพื่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิพล ผู้บริหารจำเป็นต้องดำเนินการให้ครบถ้วนทั้ง 3 ขั้นตอน จากนั้นจึงนำแผนงานไปสื่อสารให้สมาชิกในองค์กรเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
    (น.ส.ศศิพิมพ์ ชัยกุลพัฒนา 12590076)

    ตอบลบ
  13. เพื่อให้ผู้บริหารสามารถวางแผนเพื่อการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลจำเป็นต้องดำเนินการให้ครบถ้วนทั้ง 3 ขั้นตอน คือกำหนดพันธกิจ ตั้งเป้าหมายและกำหนดแผนงาน จากนั้นจึงนำแผนงานนั้นไปสื่อสารให้สมาชิกในองค์กรเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
    1.การกำหนดพันธกิจ เป็นการอธิบายเหตุผลในการดำรงอยู่และขอบเขตในการดำเนินขององค์กรซึ่งมีความโดดเด่นและเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว
    2.การตั้งเป้าหมาย เป็นการกำหนดสิ่งที่ประสงค์จะให้เกิดขึ้นในเชิงรูปธรรม เพื่อให้สมาชิกในองค์กรทราบทิศทางการดำเนินงานขององค์กรและร่วมกันปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายนั้นๆ ผู้บริหารควรตระหนักว่าการตั้งเป้าหมายที่ดีจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานขององค์กรได้ และเป้าหมายที่ผู้บริหารสามารถเลือกมาประยุกต์ใช้กับองค์กรนั้นแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท มีหลายลักษณะควรประกอบด้วยเนื้อหาที่เหมาะสมและจูงใจให้สมาชิกปฏิบัติให้ถึงเป้าหมายด้วยความเต็มใจและนำไปสู่ความสำเร็จขององค์กร
    3.การจัดทำแผน เมื่อกำหนดพันธกิจและเป้าหมายการดำเนินงานที่ชัดเจนแล้ว กิจกรรมต่อไปคือการจัดทำแผนเป็นวิธีการกำหนดขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องและเป้าหมาย และสนับสนุนให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจที่กำหนดขึ้น
    การดำเนินงานตามกระบวนการวางแผนนั้น อาจมีอุปสรรคหรือข้อจำกัดที่ผู้บริหารควรศึกษาและบริหารจัดการอย่างเหมาะสม เพื่อไม่ให้ส่งผลเสียต่อองค์กร ผู้บริหารที่สามารถวางแผนได้ดีนอกจากจะเป็นจุดเริ่มต้นในการเป็นผู้บริหารที่ดี ยังเป็นเครื่องประกันความสำเร็จของตนเองและองค์กรอีกส่วนหนึ่ง
    (นางสาวปรมาพร สิงขรรัตน์ 12590046)

    ตอบลบ
  14. การวางแผนเป็นกระบวนการจึงต้องมีการดำเนินการอย่างเป็นลำดับขั้นตอนและแต่ละตอนนั้นจะมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน ถ้าขั้นตอนใดดำเนินการผิดพลาดก็จะส่งผลให้การดำเนินการในขั้นต่อ ๆ ไปประสบปัญหาล้มเหลวตามไปด้วยได้  กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงานอาจแบ่งได้เป็น8ขั้นตอน ดังนี้
    1.การดำเนินการก่อนการวางแผนเป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผนเตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ เช่น แต่งตั้งให้มีฝ่ายวางแผนซึ่งอาจจะอยู่ในความรับผิดชอบของผู้บริหารหรือฝ่ายวิชาการ
    2.การวิเคราะห์ปัญหาจะพิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่าง ๆ ในหน่วยงานนั้น ๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุง เพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพ
    3.การกำหนดแผนงานพิจารณาและวิเคราะห์ปัญหา คณะกรรมการการวางแผนควรวิเคราะห์ว่า มีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไร
    4.การกำหนดเป้าหมายการที่จะทำงานตามแผนงานผู้ปฏิบัติจะต้องทราบเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติเป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงานโดยจัดอบรมพนักงานฝ่ายการผลิตอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
    5.การกำหนดวิธีการดำเนินการ การกำหนดวิธีการดำเนินงานนี้ ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน3ด้าน คือการกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล
    6.การกำหนดค่าใช้จ่าย องค์กรจะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้น ๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเท่าไหร่
    7.การปฏิบัติตามแผน ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนด
    8.การประเมินผลและปรับปรุงแผน  การประเมินผลการปฏิบัติองค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะ ๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่
    (ปวีณา เกตุแย้ม 12590047)











    ตอบลบ
  15. กระบวนการวางแผน หมายถึงการกำหนดพันกิจ เป้าหมาย เเละเเผนงาน เพื่อให้องค์กรปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพเเละประสิทธิผลตามที่ประสงค์ กระบวนการวางเเผนึงประกอบด้วยขั้นตอน 3 ประการ
    1.การกำหนดพันธกิจ(Mission)
    การกำหนดขอบเขตของงานหรือบทบาทหน้าที่ขององค์การ ในลักษณะอาณัติ(Mandate)เพื่อให้องค์การบรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนfไว้ หรือเป็นพันธกิจตามยุทธศาสตร์ แผนชาติ นโยบายของรัฐบาล นโยบายของรัฐมนตรี ฯลฯ
    2.การกำหนดเป้าหมาย (Goals)
    การกำหนดเป้าหมาย หรือจุดมุ่งหมาย หรือวัตถุประสงค์ หรือหลัก หรือเป้าประสงค์จากวิสัยทัศน์ซึ่งมีลักษณะเชิงนามธรรมจะถูกแปลเป็นเป้าหมายที่เป็นรูปธรรม ที่แสดงถึงสิ่งที่ต้องการในอนาคต ต้องพยายามให้เกิดขึ้นหรือผลลัพธ์/ผลสำเร็จที่องค์การต้องการบรรลุถึง เป็นข้อความที่เกริ่นอย่างกว้าง ๆถึงผลลัพธ์(outcome)ขององค์การ อันเนื่องมาจากหน้าที่ขององค์การต้องสอดคล้องกับพันธกิจที่กำหนดไว้
    3.เเผน (Plans)
    เมื่อองค์กรกำหนดพันธกิจเเละเป้าหมายการดำเนินงานที่ชัดเจนเเล้ว กิจกรรมต่อไปของกระบวนการวางเเผนคือ การจัดทำเเผนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนด เเผนจึงหมายถึงวิธีการซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจำเป็นต้องจัดทำเเผนให้สอดคล้องกับเป้าหมาย เเละสนับสนุนให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจที่กำหนดขึ้น
    (นางสาวสิริรัตน์ ศิริพรทุม 12590086)

    ตอบลบ
  16. กระบวนการวางแผนมีลำดับขั้นตอนดังต่อไปนี้ เพื่อให้สามารถวางแผนเพื่อการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผู้บริหารจำเป็นต้องดำเนินงานให้ครบ 3 ขั้นตอน คือ

    1.การกำหนดพันธกิจ เป็นการกำหนดขอบเขตขององค์กร อาจจะกำหนดความโดดเด่นและเอกลักษณ์ขององค์กรไว้ในพันธกิจ

    2.เป้าหมาย คือ ผลลัพธ์ซึ่งองค์กรมุ่งประสงค์จากการดำเนินงาน ผู้บริหารจำเป็นต้องกำหนดเป้าหมายให้สอดคล้องกับพันธกิจ เพื่อให้องค์กรดำรงอยู่ได้ตามพันธกิจที่กำหนดและสนับสนุนให้พันธกิจขององค์กรเป็นจริง โดยสามารถแบ่งประเภทของเป้าหมายได้ตามลักษณะต่างๆดังต่อไปนี้
    -แบ่งตามระยะเวลา
    -แบ่งตามระดับการบริหารงาน
    โดยองค์ประกอบของเป้าหมาย มีดังนี้ คือ ท้าทาย เฉพาะเจาะจงและวัดได้ สามารถบรรลุได้ เกี่ยวข้องกับงานและมุ่งไปผลลัพธ์ที่ต้องการ กำหนดระยะเวลา

    ข้อควรระวังในการตั้งเป้าหมาย
    1.กรณีตั้งเป้าหมายสูงเกินไปหรือเป้าหมายไม่เหมาะสม จะก่อให้เกิดผลเสียหลายประการ เช่น เกิดความเสี่ยงสูงในการทำงานและมีการแข่งขันกันอย่างรุนแรง สมาชิกภายในองค์กรอาจเกิดสภาวะกดดัน เครียด
    2.กรณีไม่บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ อาจทำให้ความเชื่อมั่นในตนเองลดลง นำไปสู่ความไม่มั่นใจในการทำงาน ผู้บริหารต้องคอยให้กำลังใจสมาชิกขององค์กร
    3.การณีตั้งเป้าหมายไม่ครบทุกด้าน ผู้บริหารจำเป็นต้องคิดและตั้งเป้าหมายให้ครบทุกด้านและชี้แจงให้ผู้ปฏิบัติงานมองภาพรวมขององค์กรเป็นสิ่งสำคัญที่สุด

    3.แผน เมื่อองค์กรกำหนดพันธกิจและเป้าหมายการดำเนินที่ชัดเจนแล้ว กิจกรรมต่อไปของกรบวนการวางแผน คือ การจัดทำแผนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนด ผู้บริหารจำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องกับเป้าหมาย และสนับสนุนให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจที่กำหนดขึ้น

    กุลปริยา แย้มเกษร 12590005

    ตอบลบ
  17. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  18. กระบวนการวางแผนจึงประกอบด้วยขั้นตอน 3 ประการ ได้แก่
    1.การกำหนดพันธกิจ (Mission)พันธกิจ หมายถึง เหตุผลในการดำรงอยู่และขอบเขตในการดำเนินงานขององค์กร ซึ่งมีความโดดเด่นและเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ซึ่งการกำหนดพันธกิจของแต่องค์กรจะมีองค์ประกอบของพันธกิจที่แตกต่างกัน ทั้งนี้องค์กรแต่ละแห่งสามารถเลือกกำหนดพันธกิจได้จากประเด็นต่างๆ คือ ลูกค้า สินค้าหรือบริการ ทำเลที่ตั้ง เป้าหมายทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี ปรัญชา จุดแข็ง ภาพลักษณ์ต่อสาธารณะ และ พนักงาน
    2.การกำหนดเป้าหมาย(Types of Goals)เป้าหมายขององค์กร หมายถึง ผลลัพธ์ซึ่งองค์กรมุ่งประสงค์จากการดำเนินงาน ผู้บริหารจำเป็นต้องกำหนดเป้าหมายให้สอดคล้องกับพันธกิจ เพื่อให้องค์กรดำรงอยู่ได้ ตามพันธกิจที่กำหนดและสนับสนุนให้พันธกิจขององค์กรเป็นจริง
    3.แผนงาน(Plan)แผน หมายถึง วิธีการซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องกับเป้าหมาย และสนับสนุนให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจที่กำหนดขึ้น
    เพื่อให้ผู้บริหารสามารถวางแผนเพื่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิพล ผู้บริหารจำเป็นต้องดำเนินการให้ครบถ้วนทั้ง 3 ขั้นตอน จากนั้นจึงนำแผนงานไปสื่อสารให้สมาชิกในองค์กรเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
    (ชนกนาฎ สหทรัพย์เจริญ 12590012)

    ตอบลบ
  19. กระบวนการวางแผน คือ กระบวนการในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมองค์กรทั้งภายในและภายนอก วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่คาดหวังเพื่อให้องค์การเป็นและไปให้ถึงในอนาคต วิธีการเพื่อนำไปสู่จุดหมายที่ต้องการและการปฏิบัติที่คาดหวังเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายนั้น สิ่งเหล่านี้คือกระบวนการในการวางแผนซึ่งประกอบด้วย
    1. การตั้งข้อสมมุติฐานเกี่ยวกับอนาคต ได้แก่ กระบวนการในการพิจารณา วิเคราะห์ ตัดสินใจ และคาดเดา เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร ทั้งในปัจจุบันตลอดจนโอกาสความน่าจะเป็นที่เป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์ในอนาคต เช่น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม การเมือง ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสและข้อจำกัด ซึ่งมีผลกระทบต่อจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กร เพื่อแสวงหาทิศทาง วิธีการนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
    2. การกำหนดวัตถุประสงค์ คือ การหาคำตอบของคำถามที่ว่า วิสัยทัศน์และภารกิจขององค์กรคืออะไร ? ขณะนี้องค์กรยืนอยู่ ณ จุดไหน ? ในอนาคตต้องการให้องค์กรเป็นอย่างไร ? อะไรคือเป้าหมายพื้นฐานและอะไรคือเป้าหมายเฉพาะ ? การกำหนดวัตถุประสงค์จะทำให้เห็นเป้าหมายที่ชัดเจน และทำให้วางแผนได้ชัดเจน แม่นตรง ต่อเป้าหมายที่วางไว้
    3. การกำหนดกลยุทธ์และการพัฒนากลยุทธ์ จัดเป็นการค้นหาวิธีการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่วางไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กรเป็นพื้นฐานในการพัฒนาตัดสินใจ เพื่อเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุดเพื่อเป็นการวางแผนและปฏิบัติการ
    4. การกำหนดเป้าหมาย ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายเฉพาะของหน่วงงาน ซึ่งเป้าหมายจะต้องมีลักษณะที่สามารถวัดได้เป็นตัวเลขและ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ระยะยาวขององค์กร
    5. การกำหนดแผนปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติงานจะเกิดขึ้นควบคู่กับเป้าหมายและ กลยุทธ์ เพื่อให้มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการลำดับขั้นตอนของการปฏิบัติงานอย่างชัดเจนว่าจะทำอะไร ในช่วงเวลาใด จะต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้างและปริมาณเท่าใด งานนั้น ๆจะแล้วเสร็จเมื่อใด เป็นต้น การกำหนดแผนปฏิบัติงานจะทำให้สามารถตรวจสอบผลการดำเนินงานได้ว่า งานนั้นดำเนินไปได้เพียงใด มีปัญหาอุปสรรคอะไรที่ขัดขวางและจะแก้ปัญหาอุปสรรคเหล่านั้นได้อย่างไรเพื่อให้สำเร็จลุล่วงตามแผน
    6. การปฏิบัติตามแผน คือ ขั้นตอนของการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้เพื่อหาคำตอบว่า แผนที่วางไว้จะก่อให้เกิดประสิทธิผลหรือไม่ มากหรือน้อยเพียงใด และอะไรคือ ปัญหาอุปสรรคขวางกั้นมิให้การดำเนินงานประสบผลสำเร็จตามที่คาดหวัง ตลอดจนหาวิธีการในการแก้ไขปัญหาให้ลุล่วง
    7. ข้อมูลย้อนกลับ คือ การประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการประเมินนั้น ๆ ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่เพราะเหตุใด เพื่อแสวงหาวิธีการในการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป
    (วัชระ จริยสุขสกุล 12590071)

    ตอบลบ
  20. ระบวนการวางแผนและปฏิบัติงานแบ่งได้เป็น 8 ขั้นตอน มีรายละเอียดในการดำเนินการแต่ละขั้นดังนี้
    1. การดำเนินการก่อนการวางแผน
    เป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผน เตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การกำหนดวิธีการวางแผน และการรวบรวมข้อมูล
    2. การวิเคราะห์ปัญหา
    พิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่างๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุงเพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพขึ้นอย่างไรบ้าง

    3. การกำหนดแผนงาน
    พิจารณาและวิเคราะห์ปัญหาว่ามีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง จัดแบ่งเป็นกลุ่มที่เรียกว่า แผนงาน ซึ่งหมายถึง จุดรวมของหน่วยงานที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ได้ผลรวมที่คล้ายคลึงกัน
    4. การกำหนดเป้าหมาย
    ต้องกำหนดให้ชัดเจนทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติ เป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน
    5. การกำหนดวิธีการดำเนินการ
    ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน 3 ด้าน คือการกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล การกำหนดวิธีปฏิบัติงานนั้นต้องอาศัยข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์มาแล้ว พิจารณาว่าการที่จะทำงานนั้นๆ ให้ลุล่วงได้ดีจะมีวิธีการทำอย่างไรบ้าง บันทึกแนวคิดทั้งหมดไว้ และนำมาวิเคราะห์ว่าวิธีการใดจะดีที่สุด และต้องกำหนดว่างานแต่ละอย่างจะต้องเริ่มต้นทำเมื่อใด และเสร็จสิ้นเมื่อใด ใช้เวลามากน้อยเพียงใด และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลา และผู้รับผิดชอบนี้ถ้าจัดทำเป็นแผนภูมิปฏิบัติงาน (Gantt chart) ก็จะดูได้ง่ายขึ้น
    6. การกำหนดค่าใช้จ่าย
    องค์จะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้นๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร และรวมเงินที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมดเป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร ค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะได้มาจากแหล่งเงินทุนใดควรระบุไว้ให้ชัดเจนด้วย
    7. การปฏิบัติตามแผน
    ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนด
    8. การประเมินผลและปรับปรุงแผน
    องค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าพบว่ามีปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานในขั้นตอนใด ก็จะต้องมีการปรับปรุงแผนที่กำหนดไว้
    การปฏิบัติงานให้ได้ผลดีนั้นองค์การจะต้องมีการวางแผนงานล่วงหน้า โดยอาศัยการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นพื้นฐานการกำหนดงานในแผนงาน การเขียนแผนงานองค์การต้องพยายามเขียนให้ชัดเจน การกำหนดจุดประสงค์ ขั้นตอนการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบเวลา และค่าใช่จ่ายที่ระบุไว้ชัดเจนจะช่วยให้การปฏิบัติตามแผนงาน เป็นไปตามที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ
    ( นายนภนต์ เจียรนัย 12590040 )

    ตอบลบ
  21. กระบวนการวางแผน คือ กระบวนการในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมองค์กรทั้งภายในและภายนอก วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่คาดหวังเพื่อให้องค์การเป็นและไปให้ถึงในอนาคต วิธีการเพื่อนำไปสู่จุดหมายที่ต้องการและการปฏิบัติที่คาดหวังเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายนั้น สิ่งเหล่านี้คือกระบวนการในการวางแผนซึ่งประกอบด้วย
    1. การตั้งข้อสมมุติฐานเกี่ยวกับอนาคต ได้แก่ กระบวนการในการพิจารณา วิเคราะห์ ตัดสินใจ และคาดเดา เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร ทั้งในปัจจุบันตลอดจนโอกาสความน่าจะเป็นที่เป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์ในอนาคต เช่น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม การเมือง ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสและข้อจำกัด ซึ่งมีผลกระทบต่อจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กร เพื่อแสวงหาทิศทาง วิธีการนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
    2. การกำหนดวัตถุประสงค์ คือ การหาคำตอบของคำถามที่ว่า วิสัยทัศน์และภารกิจขององค์กรคืออะไร ? ขณะนี้องค์กรยืนอยู่ ณ จุดไหน ? ในอนาคตต้องการให้องค์กรเป็นอย่างไร ? อะไรคือเป้าหมายพื้นฐานและอะไรคือเป้าหมายเฉพาะ ? การกำหนดวัตถุประสงค์จะทำให้เห็นเป้าหมายที่ชัดเจน และทำให้วางแผนได้ชัดเจน แม่นตรง ต่อเป้าหมายที่วางไว้
    3. การกำหนดกลยุทธ์และการพัฒนากลยุทธ์ จัดเป็นการค้นหาวิธีการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่วางไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กรเป็นพื้นฐานในการพัฒนาตัดสินใจ เพื่อเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุดเพื่อเป็นการวางแผนและปฏิบัติการ
    4. การกำหนดเป้าหมาย ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายเฉพาะของหน่วงงาน ซึ่งเป้าหมายจะต้องมีลักษณะที่สามารถวัดได้เป็นตัวเลขและ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ระยะยาวขององค์กร
    5. การกำหนดแผนปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติงานจะเกิดขึ้นควบคู่กับเป้าหมายและ กลยุทธ์ เพื่อให้มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการลำดับขั้นตอนของการปฏิบัติงานอย่างชัดเจนว่าจะทำอะไร ในช่วงเวลาใด จะต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้างและปริมาณเท่าใด งานนั้น ๆจะแล้วเสร็จเมื่อใด เป็นต้น การกำหนดแผนปฏิบัติงานจะทำให้สามารถตรวจสอบผลการดำเนินงานได้ว่า งานนั้นดำเนินไปได้เพียงใด มีปัญหาอุปสรรคอะไรที่ขัดขวางและจะแก้ปัญหาอุปสรรคเหล่านั้นได้อย่างไรเพื่อให้สำเร็จลุล่วงตามแผน
    6. การปฏิบัติตามแผน คือ ขั้นตอนของการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้เพื่อหาคำตอบว่า แผนที่วางไว้จะก่อให้เกิดประสิทธิผลหรือไม่ มากหรือน้อยเพียงใด และอะไรคือ ปัญหาอุปสรรคขวางกั้นมิให้การดำเนินงานประสบผลสำเร็จตามที่คาดหวัง ตลอดจนหาวิธีการในการแก้ไขปัญหาให้ลุล่วง
    7. ข้อมูลย้อนกลับ คือ การประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการประเมินนั้น ๆ ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่เพราะเหตุใด เพื่อแสวงหาวิธีการในการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป

    ศิฌาวี เรือนปัญจะ 12590078

    ตอบลบ
  22. การวางแผนที่ดีนั้น จะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบที่ชัดเจนและมีความต่อเนื่องกันเป็นลำดับ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ใช้แผนมีความเข้าใจและปฏิบัติตามแผนได้โดยง่าย แอคคอฟฟ์ (Rusell L. Ackiff) จำแนกองค์ประกอบของแผนและการวางแผนไว้ดังนี้

    1. จุดหมาย (Ends) เป็นองค์ประกอบที่แสดงถึงวัตถุประสงค์ ความมุ่งหวัง หรือจุดมุ่งหมายของแผนที่ได้กำหนดขึ้น โดยอาจชี้สภาพปัญหาหรือความเป็นมาหรือภูมิหลังที่ต้องทำให้มีการวางแผน และรวมถึงประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นจากการวางแผนนั้น

    2. วิธีการ (Means) เป็นองค์ประกอบที่แสดงถึงการนำข้อมูลมาวิเคราะห์ แล้วกำหนดเป็นทางเลือกไว้หลายทางเลือก เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติให้บรรลุถึงจุดหมาย ที่ได้กำหนดไว้แล้วเป็นองค์ประกอบแรก

    3. ทรัพยากร (Resources) เป็นองค์ประกอบที่แสดงถึงประเภท ปริมาณ และคุณภาพของทรัพยากรเช่น คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ และวิธีการที่จะต้องจัดสรรให้กับวิธีกรหรือทางเลือกที่ได้กำหนดไว้

    4. การนำแผนไปใช้ (Implementation ) เป็นองค์ประกอบที่ระบถึงวิธีการหรือการตัดสินใจเพื่อเลือกเลือกทางเลือกหรือแนวทางที่ดีที่สุดในการปฏิบัติให้เป็นไปตามแผนและวัตถุประสงค์ของแผนซึ่งได้กำหนดไว้ทางเลือกในการดำเนินงานจะต้องมีลักษณะที่ประหยัดและให้ผลประโยชน์ที่เหมาะสม จึงจะถือว่าเป็นทางเลือกและการดำเนินงานที่ดี

    5. การควบคุม (Control) เป็นองค์ประกอบที่แสดงถึงการตรวจสอบและการประเมินผลการดำเนินงานของแผนว่าเป็นไปด้วยดีมีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด มีปัญหาอุปสรรคอย่างไรบ้าง และมีการปรับปรุงหรือหาทางปรับปรุงแก้ไขอย่างไร การควบคุมจะต้องเป็นไปทุกขั้นตอนทุกระยะการดำเนินงานและเป็นไปอย่างต่อเนื่อง
    (มณฑล น้ำแก้ว 12590065)

    ตอบลบ
  23. กระบวนการวางแผน หมายถึงการกำหนดพันกิจ เป้าหมาย เเละเเผนงาน เพื่อให้องค์กรปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพเเละประสิทธิผลตามที่ประสงค์ กระบวนการวางเเผนึงประกอบด้วยขั้นตอน 3 ประการ
    1.การกำหนดพันธกิจ(Mission) การกำหนดขอบเขตของงานหรือบทบาทหน้าที่ขององค์การ ในลักษณะอาณัติ(Mandate)เพื่อให้องค์การบรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนfไว้ หรือเป็นพันธกิจตามยุทธศาสตร์ แผนชาติ นโยบายของรัฐบาล นโยบายของรัฐมนตรี ฯลฯ
    2.การกำหนดเป้าหมาย (Goals) การกำหนดเป้าหมาย หรือจุดมุ่งหมาย หรือวัตถุประสงค์ หรือหลัก หรือเป้าประสงค์จากวิสัยทัศน์ซึ่งมีลักษณะเชิงนามธรรมจะถูกแปลเป็นเป้าหมายที่เป็นรูปธรรม ที่แสดงถึงสิ่งที่ต้องการในอนาคต ต้องพยายามให้เกิดขึ้นหรือผลลัพธ์/ผลสำเร็จที่องค์การต้องการบรรลุถึง เป็นข้อความที่เกริ่นอย่างกว้าง ๆถึงผลลัพธ์(outcome)ขององค์การ อันเนื่องมาจากหน้าที่ขององค์การต้องสอดคล้องกับพันธกิจที่กำหนดไว้
    3.เเผน (Plans) เมื่อองค์กรกำหนดพันธกิจเเละเป้าหมายการดำเนินงานที่ชัดเจนเเล้ว กิจกรรมต่อไปของกระบวนการวางเเผนคือ การจัดทำเเผนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนด เเผนจึงหมายถึงวิธีการซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจำเป็นต้องจัดทำเเผนให้สอดคล้องกับเป้าหมาย เเละสนับสนุนให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจที่กำหนดขึ้น
    (นางสาว ณัฐฐา จินตกวีพันธุ์ 12590020)

    ตอบลบ
  24. กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงานแบ่งได้เป็น 8 ขั้นตอน มีรายละเอียดในการดำเนินการแต่ละขั้นดังนี้
    1. การดำเนินการก่อนการวางแผน
    เป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผน เตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การกำหนดวิธีการวางแผน และการรวบรวมข้อมูล
    2. การวิเคราะห์ปัญหา
    พิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่างๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุงเพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพขึ้นอย่างไรบ้าง
    3. การกำหนดแผนงาน
    พิจารณาและวิเคราะห์ปัญหาว่ามีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง จัดแบ่งเป็นกลุ่มที่เรียกว่า แผนงาน ซึ่งหมายถึง จุดรวมของหน่วยงานที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ได้ผลรวมที่คล้ายคลึงกัน
    4. การกำหนดเป้าหมาย
    ต้องกำหนดให้ชัดเจนทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติ เป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน
    5. การกำหนดวิธีการดำเนินการ
    ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน 3 ด้าน คือการกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล การกำหนดวิธีปฏิบัติงานนั้นต้องอาศัยข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์มาแล้ว พิจารณาว่าการที่จะทำงานนั้นๆ ให้ลุล่วงได้ดีจะมีวิธีการทำอย่างไรบ้าง บันทึกแนวคิดทั้งหมดไว้ และนำมาวิเคราะห์ว่าวิธีการใดจะดีที่สุด และต้องกำหนดว่างานแต่ละอย่างจะต้องเริ่มต้นทำเมื่อใด และเสร็จสิ้นเมื่อใด ใช้เวลามากน้อยเพียงใด และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลา และผู้รับผิดชอบนี้ถ้าจัดทำเป็นแผนภูมิปฏิบัติงาน (Gantt chart) ก็จะดูได้ง่ายขึ้น
    6. การกำหนดค่าใช้จ่าย
    องค์จะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้นๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร และรวมเงินที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมดเป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร ค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะได้มาจากแหล่งเงินทุนใดควรระบุไว้ให้ชัดเจนด้วย
    7. การปฏิบัติตามแผน
    ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนด
    8. การประเมินผลและปรับปรุงแผน
    องค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าพบว่ามีปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานในขั้นตอนใด ก็จะต้องมีการปรับปรุงแผนที่กำหนดไว้
    การปฏิบัติงานให้ได้ผลดีนั้นองค์การจะต้องมีการวางแผนงานล่วงหน้า โดยอาศัยการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นพื้นฐานการกำหนดงานในแผนงาน การเขียนแผนงานองค์การต้องพยายามเขียนให้ชัดเจน การกำหนดจุดประสงค์ ขั้นตอนการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบเวลา และค่าใช่จ่ายที่ระบุไว้ชัดเจนจะช่วยให้การปฏิบัติตามแผนงาน เป็นไปตามที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ (ชัชญาณ์ณัฐ ภูวิศภัทรนนท์ 12590110)

    ตอบลบ
  25. การวางแผนถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญสำหรับผู้บริหารที่ต้องการจะประสบความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กรผู้บริหารจำเป็นต้องทราบว่ากระบวนการวางแผนประกอบด้วยขั้นตอน 3 ขั้น
    1.การกำหนดพันธกิจ เป็นการอธิบายเหตุผลการดำรงอยู่ขององค์กรและกำหนดกรอบขอบเขตการดำเนินการของสมาชิกในองค์กรให้ชัดเจน
    2.การตั้งเป้าหมาย เป็นการกำหนดสิ่งที่ประสงค์จะให้เกิดขึ้นในเชิงรูปธรรม เพื่อให้สมาชิกในองค์กรทราบทิศทางการดำเนินงานขององค์กรและร่วมกันปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายนั้นๆ ผู้บริหารควรตระหนักว่าการตั้งเป้าหมายที่ดีจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานขององค์กรได้ และเป้าหมายที่ผู้บริหารสามารถเลือกมาประยุกต์ใช้กับองค์กรนั้นแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท มีหลายลักษณะควรประกอบด้วยเนื้อหาที่เหมาะสมและจูงใจให้สมาชิกปฏิบัติให้ถึงเป้าหมายด้วยความเต็มใจและนำไปสู่ความสำเร็จขององค์กร
    3.การจัดทำแผน เป็นวิธีการกำหนดขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องและสนับสนุนเป้าหมายที่กำหนดไว้ ผู้บริหารควรทราบประเภทของแผนที่ใช้งานกันโดยทั่วไป และเข้าใจลักษณะของแผนที่ดีเพื่อสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับองค์กร การดำเนินงานตามกระบวนการวางแผนนั้นอาจมีอุปสรรคหรือข้อจำกัดที่ผู้บริหารควรศึกษาและบริหารจัดการอย่างเหมาะสม เพื่อมิให้ส่งผลเสียต่อองค์กร (ศุภิสรา นรินยา 12590717)

    ตอบลบ
  26. การวางแผนเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ต้องอาศัยหลักเกณฑ์และความรู้ทางด้านทฤษฎีต่าง ๆ การกำหนดวิธีการต่าง ๆ จึงต้องอาศัยศิลปะในการดำเนินการและประสานงานของผู้บริหาร การวางแผนเป็นกระบวนการจึงต้องมีการดำเนินการอย่างเป็นลำดับขั้นตอนและแต่ละตอนนั้นจะมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน ถ้าขั้นตอนใดดำเนินการผิดพลาดก็จะส่งผลให้การดำเนินการในขั้นต่อ ๆ ไปประสบปัญหาล้มเหลวตามไปด้วยได้ กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงานอาจแบ่งได้เป็น 8 ขั้นตอน
    1. การดำเนินการก่อนการวางแผน
    เป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผน เตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ (เช่น แต่งตั้งให้มีฝ่ายวางแผนซึ่งอาจจะอยู่ในความรับผิดชอบของผู้บริหารหรือฝ่ายวิชาการ) องค์การ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การกำหนดวิธีการวางแผน (คณะกรรมการต้องช่วยกันคิดว่า จะต้องทำอย่างไรมีขั้นตอนอย่างไร และจะต้องมีคณะกรรมการหรือหน่วยงานอื่นมาร่วมในการวางแผนหรือไม่ ฯลฯ) และการรวบรวมข้อมูล (ให้หน่วยงานทุกหน่วยเก็บรวบรวมข้อมูลให้ครบถ้วนและทุกด้านและปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ)
    2. การวิเคราะห์ปัญหา
    การวิเคราะห์ปัญหานี้พิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่าง ๆ ในหน่วยงานนั้น ๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุง เพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพ
    3. การกำหนดแผนงาน
    พิจารณาและวิเคราะห์ปัญหา คณะกรรมการการวางแผนควรวิเคราะห์ว่า มีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง ทั้งสิ่งที่มีผลโดยตรงและสิ่งที่เกี่ยวข้อต่าง ๆ จัดแบ่งเป็นกลุ่มที่เรียกว่า แผนงาน ซึ่งหมายถึง จุดรวมของหน่วยงานที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้ผลรวมที่คล้ายคลึงกัน เช่น แผนงานพัฒนาและปรับปรุงด้านการผลิตขององค์การ งานพัฒนาบุคลากร ฯลฯ ในแต่ละแผนงานนั้น จะมีแผนงานที่เป็นส่วนย่อยของแผนงานนั้น เช่น ในแผนงานการพัฒนาและปรับปรุงงานด้านการผลิต อาจจะประกอบด้วยงานการปรับปรุงขั้นตอนการผลิตการประเมินวิธีการทำงานการเพิ่มประสิทธิภาพพนักงาน การประเมินผลผลิต เป็นต้น ซึ่งในแต่ละงานนั้น อาจมีกิจกรรมย่อย ๆ หลาย ๆ กิจกรรมก็ได้
    4. การกำหนดเป้าหมาย
    การที่จะทำงานตามแผนงานผู้ปฏิบัติจะต้องทราบเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนเสียก่อน การกำหนดเป้าหมายจึงต้องกำหนดให้ชัดเจนทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติเป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้
    5. การกำหนดวิธีการดำเนินการ
    การกำหนดวิธีการดำเนินงานนี้ ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน 3 ด้าน คือ การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผลการกำหนดวิธีปฏิบัติงานนั้นต้องอาศัยข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์มาแล้วพิจารณาว่าการที่จะทำงานนั้น ๆ ให้ลุล่วงได้ดีจะมีวิธีการทำอย่างไรบ้าง บันทึกแนวคิดทั้งหมดไว้ และนำมาวิเคราะห์ว่าวิธีการใดจะดีที่สุดบางครั้งอาจจะนำแนวคิดหลาย ๆ แนวคิดมาผสมผสานกันและจัดเรียงลำดับขั้นตอนการดำเนินงาน และต้องกำหนดว่างานแต่ละอย่างจะต้องเริ่มต้นทำเมื่อใดและเสร็จสิ้นเมื่อใด ใช้เวลามากน้อยเพียงใด และ ใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ การกำหนดวิธีปฏิบัติงานการกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบนี้ถ้าจัดทำเป็นแผนภูมิปฏิบัติงาน (Gantt chart) ก็จะดูได้ง่ายขึ้น
    6. การกำหนดค่าใช้จ่าย
    องค์จะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้น ๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร และรวมเงินที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมดเป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไรค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะได้มาจากแหล่งเงินทุนใดควรระบุไว้ให้ขัดเจนด้วย
    7. การปฏิบัติตามแผน
    ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนดสิ่งต่าง ๆเหล่านี้จะรวมอยู่ในขั้นตอนการนำเข้ากระบวนการผลิต และผลผลิต งานจะบรรลุเป้าหมายหรือไม่ส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหารว่ามีความรู้ความเข้าใจในบทบาท หน้าที่ และภาระของงานมากน้อยเพียงใด
    8. การประเมินผลและปรับปรุงแผน
    การประเมินผลการปฏิบัติองค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะ ๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าพบว่ามีปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานในขั้นตอนใด ก็จะต้องมีการปรับปรุงแผนที่กำหนดไว้
    ( ณัฐชัญญา ปรินจิตต์ 12590896 )

    ตอบลบ
  27. เพื่อให้องค์กรปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิพลตามที่ประสงค์ กระบวนการวางแผนจึงประกอบด้วยขั้นตอน 3 ประการ ได้แก่
    1.การกำหนดพันธกิจ (Mission)พันธกิจ หมายถึง เหตุผลในการดำรงอยู่และขอบเขตในการดำเนินงานขององค์กร ซึ่งมีความโดดเด่นและเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ซึ่งการกำหนดพันธกิจของแต่องค์กรจะมีองค์ประกอบของพันธกิจที่แตกต่างกัน ทั้งนี้องค์กรแต่ละแห่งสามารถเลือกกำหนดพันธกิจได้จากประเด็นต่างๆ คือ ลูกค้า สินค้าหรือบริการ ทำเลที่ตั้ง เป้าหมายทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี ปรัญชา จุดแข็ง ภาพลักษณ์ต่อสาธารณะ และ พนักงาน
    2.การกำหนดเป้าหมาย(Types of Goals)เป้าหมายขององค์กร หมายถึง ผลลัพธ์ซึ่งองค์กรมุ่งประสงค์จากการดำเนินงาน ผู้บริหารจำเป็นต้องกำหนดเป้าหมายให้สอดคล้องกับพันธกิจ เพื่อให้องค์กรดำรงอยู่ได้ ตามพันธกิจที่กำหนดและสนับสนุนให้พันธกิจขององค์กรเป็นจริง
    3.แผนงาน(Plan)แผน หมายถึง วิธีการซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องกับเป้าหมาย และสนับสนุนให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจที่กำหนดขึ้น
    เพื่อให้ผู้บริหารสามารถวางแผนเพื่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิพล ผู้บริหารจำเป็นต้องดำเนินการให้ครบถ้วนทั้ง 3 ขั้นตอน จากนั้นจึงนำแผนงานไปสื่อสารให้สมาชิกในองค์กรเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
    (นางสาวคณภัทร์ ศิริโยธิน 12590108)

    ตอบลบ
  28. การวางแผนเป็นกระบวนการจึงต้องมีการดำเนินการอย่างเป็นลำดับขั้นตอนและแต่ละตอนนั้นจะมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน ถ้าขั้นตอนใดดำเนินการผิดพลาดก็จะส่งผลให้การดำเนินการในขั้นต่อ ๆ ไปประสบปัญหาล้มเหลวตามไปด้วยได้ กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงานอาจแบ่งได้เป็น8ขั้นตอน ดังนี้
    1.การดำเนินการก่อนการวางแผนเป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผนเตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ เช่น แต่งตั้งให้มีฝ่ายวางแผนซึ่งอาจจะอยู่ในความรับผิดชอบของผู้บริหารหรือฝ่ายวิชาการ
    2.การวิเคราะห์ปัญหาจะพิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่าง ๆ ในหน่วยงานนั้น ๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุง เพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพ
    3.การกำหนดแผนงานพิจารณาและวิเคราะห์ปัญหา คณะกรรมการการวางแผนควรวิเคราะห์ว่า มีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไร
    4.การกำหนดเป้าหมายการที่จะทำงานตามแผนงานผู้ปฏิบัติจะต้องทราบเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติเป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงานโดยจัดอบรมพนักงานฝ่ายการผลิตอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
    5.การกำหนดวิธีการดำเนินการ การกำหนดวิธีการดำเนินงานนี้ ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน3ด้าน คือการกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล
    6.การกำหนดค่าใช้จ่าย องค์กรจะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้น ๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเท่าไหร่
    7.การปฏิบัติตามแผน ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนด
    8.การประเมินผลและปรับปรุงแผน การประเมินผลการปฏิบัติองค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะ ๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่

    ธีรภัทร์ จำปาเรือง 12590039

    ตอบลบ
  29. การวางแผน หมายถึง การกำหนดพันธกิจ เป้าหมาย และแผนงาน เพื่อให้องค์กรปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามที่ประสงค์ กระบวนการวางแผนจึงประกอบด้วยขั้นตอนหลัก 3 ขั้นตอน ได้แก่ 1.การกำหนดพันธกิจ คือ เหตุผลในการดำรงอยู่และขอบเขตในการดำเนินงานขององค์กร ซึ่งมีความโดดเด่นและเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ซึ่งการกำหนดพันธกิจของแต่องค์กรจะมีองค์ประกอบของพันธกิจที่แตกต่างกัน ทั้งนี้องค์กรแต่ละแห่งสามารถเลือกกำหนดพันธกิจได้จากประเด็นต่างๆ คือ ลูกค้า สินค้าหรือบริการ ทำเลที่ตั้ง เป้าหมายทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี ปรัญชา จุดแข็ง ภาพลักษณ์ต่อสาธารณะ และ พนักงาน
    2.การกำหนดเป้าหมาย หมายถึง ผลลัพธ์ซึ่งองค์กรมุ่งประสงค์จากการดำเนินงาน ผู้บริหารจำเป็นต้องกำหนดเป้าหมายให้สอดคล้องกับพันธกิจ เพื่อให้องค์กรดำรงอยู่ได้ ตามพันธกิจที่กำหนดและสนับสนุนให้พันธกิจขององค์กรเป็นจริง
    3.การกำหนดแผนงาน คือ วิธีการซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องกับเป้าหมาย และสนับสนุนให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจที่กำหนดขึ้น
    (นางสาวกรกนก จันทร์พันธุ์ 12590003)

    ตอบลบ
  30. กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงานแบ่งได้เป็น 8 ขั้นตอน มีรายละเอียดในการดำเนินการแต่ละขั้นดังนี้
    1. การดำเนินการก่อนการวางแผน
    เป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผน เตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การกำหนดวิธีการวางแผน และการรวบรวมข้อมูล
    2. การวิเคราะห์ปัญหา
    พิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่างๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุงเพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพขึ้นอย่างไรบ้าง

    3. การกำหนดแผนงาน
    พิจารณาและวิเคราะห์ปัญหาว่ามีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง จัดแบ่งเป็นกลุ่มที่เรียกว่า แผนงาน ซึ่งหมายถึง จุดรวมของหน่วยงานที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ได้ผลรวมที่คล้ายคลึงกัน
    4. การกำหนดเป้าหมาย
    ต้องกำหนดให้ชัดเจนทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติ เป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน
    5. การกำหนดวิธีการดำเนินการ
    ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน 3 ด้าน คือการกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล การกำหนดวิธีปฏิบัติงานนั้นต้องอาศัยข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์มาแล้ว พิจารณาว่าการที่จะทำงานนั้นๆ ให้ลุล่วงได้ดีจะมีวิธีการทำอย่างไรบ้าง บันทึกแนวคิดทั้งหมดไว้ และนำมาวิเคราะห์ว่าวิธีการใดจะดีที่สุด และต้องกำหนดว่างานแต่ละอย่างจะต้องเริ่มต้นทำเมื่อใด และเสร็จสิ้นเมื่อใด ใช้เวลามากน้อยเพียงใด และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลา และผู้รับผิดชอบนี้ถ้าจัดทำเป็นแผนภูมิปฏิบัติงาน (Gantt chart) ก็จะดูได้ง่ายขึ้น
    6. การกำหนดค่าใช้จ่าย
    องค์จะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้นๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร และรวมเงินที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมดเป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร ค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะได้มาจากแหล่งเงินทุนใดควรระบุไว้ให้ชัดเจนด้วย
    7. การปฏิบัติตามแผน
    ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนด
    8. การประเมินผลและปรับปรุงแผน
    องค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าพบว่ามีปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานในขั้นตอนใด ก็จะต้องมีการปรับปรุงแผนที่กำหนดไว้
    การปฏิบัติงานให้ได้ผลดีนั้นองค์การจะต้องมีการวางแผนงานล่วงหน้า โดยอาศัยการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นพื้นฐานการกำหนดงานในแผนงาน การเขียนแผนงานองค์การต้องพยายามเขียนให้ชัดเจน การกำหนดจุดประสงค์ ขั้นตอนการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบเวลา และค่าใช่จ่ายที่ระบุไว้ชัดเจนจะช่วยให้การปฏิบัติตามแผนงาน เป็นไปตามที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ

    นายธนสิทธิ์ อาจอ่อนศรี 12590036

    ตอบลบ
  31. กระบวนการวางแผน คือ กระบวนการในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมองค์กรทั้งภายในและภายนอก วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่คาดหวังเพื่อให้องค์การเป็นและไปให้ถึงในอนาคต วิธีการเพื่อนำไปสู่จุดหมายที่ต้องการและการปฏิบัติที่คาดหวังเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายนั้น สิ่งเหล่านี้คือกระบวนการในการวางแผนซึ่งประกอบด้วย
    1. การตั้งข้อสมมุติฐานเกี่ยวกับอนาคต ได้แก่ กระบวนการในการพิจารณา วิเคราะห์ ตัดสินใจ และคาดเดา เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร ทั้งในปัจจุบันตลอดจนโอกาสความน่าจะเป็นที่เป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์ในอนาคต เช่น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม การเมือง ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสและข้อจำกัด ซึ่งมีผลกระทบต่อจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กร เพื่อแสวงหาทิศทาง วิธีการนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
    2. การกำหนดวัตถุประสงค์ คือ การหาคำตอบของคำถามที่ว่า วิสัยทัศน์และภารกิจขององค์กรคืออะไร ? ขณะนี้องค์กรยืนอยู่ ณ จุดไหน ? ในอนาคตต้องการให้องค์กรเป็นอย่างไร ? อะไรคือเป้าหมายพื้นฐานและอะไรคือเป้าหมายเฉพาะ ? การกำหนดวัตถุประสงค์จะทำให้เห็นเป้าหมายที่ชัดเจน และทำให้วางแผนได้ชัดเจน แม่นตรง ต่อเป้าหมายที่วางไว้
    3. การกำหนดกลยุทธ์และการพัฒนากลยุทธ์ จัดเป็นการค้นหาวิธีการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่วางไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กรเป็นพื้นฐานในการพัฒนาตัดสินใจ เพื่อเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุดเพื่อเป็นการวางแผนและปฏิบัติการ
    4. การกำหนดเป้าหมาย ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายเฉพาะของหน่วงงาน ซึ่งเป้าหมายจะต้องมีลักษณะที่สามารถวัดได้เป็นตัวเลขและ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ระยะยาวขององค์กร
    5. การกำหนดแผนปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติงานจะเกิดขึ้นควบคู่กับเป้าหมายและ กลยุทธ์ เพื่อให้มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการลำดับขั้นตอนของการปฏิบัติงานอย่างชัดเจนว่าจะทำอะไร ในช่วงเวลาใด จะต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้างและปริมาณเท่าใด งานนั้น ๆจะแล้วเสร็จเมื่อใด เป็นต้น การกำหนดแผนปฏิบัติงานจะทำให้สามารถตรวจสอบผลการดำเนินงานได้ว่า งานนั้นดำเนินไปได้เพียงใด มีปัญหาอุปสรรคอะไรที่ขัดขวางและจะแก้ปัญหาอุปสรรคเหล่านั้นได้อย่างไรเพื่อให้สำเร็จลุล่วงตามแผน
    6. การปฏิบัติตามแผน คือ ขั้นตอนของการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้เพื่อหาคำตอบว่า แผนที่วางไว้จะก่อให้เกิดประสิทธิผลหรือไม่ มากหรือน้อยเพียงใด และอะไรคือ ปัญหาอุปสรรคขวางกั้นมิให้การดำเนินงานประสบผลสำเร็จตามที่คาดหวัง ตลอดจนหาวิธีการในการแก้ไขปัญหาให้ลุล่วง
    7. ข้อมูลย้อนกลับ คือ การประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการประเมินนั้น ๆ ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่เพราะเหตุใด เพื่อแสวงหาวิธีการในการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป
    (บุญธิดา กะตะศิลา 12590043)

    ตอบลบ
  32. การวางแผนเป็นกระบวนการจึงต้องมีการดำเนินการอย่างเป็นลำดับขั้นตอนและแต่ละตอนนั้นจะมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน ถ้าขั้นตอนใดดำเนินการผิดพลาดก็จะส่งผลให้การดำเนินการในขั้นต่อ ๆ ไปประสบปัญหาล้มเหลวตามไปด้วยได้ กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงานอาจแบ่งได้เป็น8ขั้นตอน ดังนี้
    1.การดำเนินการก่อนการวางแผนเป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผนเตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ เช่น แต่งตั้งให้มีฝ่ายวางแผนซึ่งอาจจะอยู่ในความรับผิดชอบของผู้บริหารหรือฝ่ายวิชาการ
    2.การวิเคราะห์ปัญหาจะพิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่าง ๆ ในหน่วยงานนั้น ๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุง เพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพ
    3.การกำหนดแผนงานพิจารณาและวิเคราะห์ปัญหา คณะกรรมการการวางแผนควรวิเคราะห์ว่า มีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไร
    4.การกำหนดเป้าหมายการที่จะทำงานตามแผนงานผู้ปฏิบัติจะต้องทราบเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติเป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงานโดยจัดอบรมพนักงานฝ่ายการผลิตอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
    5.การกำหนดวิธีการดำเนินการ การกำหนดวิธีการดำเนินงานนี้ ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน3ด้าน คือการกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล
    6.การกำหนดค่าใช้จ่าย องค์กรจะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้น ๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเท่าไหร่
    7.การปฏิบัติตามแผน ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนด
    8.การประเมินผลและปรับปรุงแผน การประเมินผลการปฏิบัติองค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะ ๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ ( น.ส. อังคณา พิทักษ์สุข 12590104)

    ตอบลบ
  33. การวางแผนถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญสำหรับผู้บริหารที่ต้องการจะประสบความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กรผู้บริหารจำเป็นต้องทราบว่ากระบวนการวางแผนประกอบด้วยขั้นตอน 3 ขั้น ได้แก่ 1. การกำหนดพันธกิจ 2. การตั้งเป้าหมายและ 3. การจัดทำแผน ซึ่งผู้บริหารจำเป็นต้องดำเนินการที่ละขั้นตอนให้ครบทั้ง 3 ขั้นตอนและสอดคล้องกัน จึงจะเป็นการวางแผนที่ครบถ้วนสมบูรณ์ ดังนี้

    1.การกำหนดพันธกิจ เป็นการอธิบายเหตุผลการดำรงอยู่ขององค์กรและกำหนดกรอบขอบเขตการดำเนินการของสมาชิกในองค์กรให้ชัดเจน
    2.การตั้งเป้าหมาย เป็นการกำหนดสิ่งที่ประสงค์จะให้เกิดขึ้นในเชิงรูปธรรม เพื่อให้สมาชิกในองค์กรทราบทิศทางการดำเนินงานขององค์กรและร่วมกันปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายนั้นๆ ผู้บริหารควรตระหนักว่าการตั้งเป้าหมายที่ดีจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานขององค์กรได้ และเป้าหมายที่ผู้บริหารสามารถเลือกมาประยุกต์ใช้กับองค์กรนั้นแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท มีหลายลักษณะควรประกอบด้วยเนื้อหาที่เหมาะสมและจูงใจให้สมาชิกปฏิบัติให้ถึงเป้าหมายด้วยความเต็มใจและนำไปสู่ความสำเร็จขององค์กร
    3.การจัดทำแผน เป็นวิธีการกำหนดขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องและสนับสนุนเป้าหมายที่กำหนดไว้ ผู้บริหารควรทราบประเภทของแผนที่ใช้งานกันโดยทั่วไป และเข้าใจลักษณะของแผนที่ดี เพื่อสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับองค์กร การดำเนินงานตามกระบวนการวางแผนนั้น อาจมีอุปสรรคหรือข้อจำกัดที่ผู้บริหารควรศึกษาและบริหารจัดการอย่างเหมาะสม เพื่อมิให้ส่งผลเสียต่อองค์กร ผู้บริหารที่สามารถวางแผนได้ดีนอกจากจะเป็นจุดเริ่มต้นในการเป็นผู้บริหารที่ดี แล้วยังเป็นเครื่องประกันความสำเร็จของตนเองและองค์กรอีกส่วนหนึ่ง สมดังที่มีผู้กล่าวไว้ว่าการเริ่มต้นที่ดีย่อมทำให้เกิดความสำเร็จไปแล้วครึ่งหนึ่ง (นายธนพล โชครัตน์ประภา 12590033)

    ตอบลบ
  34. กระบวนการวางแผน คือ กระบวนการในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมองค์กรทั้งภายในและภายนอก วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่คาดหวังเพื่อให้องค์การเป็นและไปให้ถึงในอนาคต วิธีการเพื่อนำไปสู่จุดหมายที่ต้องการและการปฏิบัติที่คาดหวังเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายนั้น สิ่งเหล่านี้คือกระบวนการในการวางแผนซึ่งประกอบด้วย
    1. การตั้งข้อสมมุติฐานเกี่ยวกับอนาคต ได้แก่ กระบวนการในการพิจารณา วิเคราะห์ ตัดสินใจ และคาดเดา เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร ทั้งในปัจจุบันตลอดจนโอกาสความน่าจะเป็นที่เป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์ในอนาคต เช่น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม การเมือง ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสและข้อจำกัด ซึ่งมีผลกระทบต่อจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กร เพื่อแสวงหาทิศทาง วิธีการนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
    2. การกำหนดวัตถุประสงค์ คือ การหาคำตอบของคำถามที่ว่า วิสัยทัศน์และภารกิจขององค์กรคืออะไร ? ขณะนี้องค์กรยืนอยู่ ณ จุดไหน ? ในอนาคตต้องการให้องค์กรเป็นอย่างไร ? อะไรคือเป้าหมายพื้นฐานและอะไรคือเป้าหมายเฉพาะ ? การกำหนดวัตถุประสงค์จะทำให้เห็นเป้าหมายที่ชัดเจน และทำให้วางแผนได้ชัดเจน แม่นตรง ต่อเป้าหมายที่วางไว้
    3. การกำหนดกลยุทธ์และการพัฒนากลยุทธ์ จัดเป็นการค้นหาวิธีการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่วางไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กรเป็นพื้นฐานในการพัฒนาตัดสินใจ เพื่อเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุดเพื่อเป็นการวางแผนและปฏิบัติการ
    4. การกำหนดเป้าหมาย ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายเฉพาะของหน่วงงาน ซึ่งเป้าหมายจะต้องมีลักษณะที่สามารถวัดได้เป็นตัวเลขและ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ระยะยาวขององค์กร
    5. การกำหนดแผนปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติงานจะเกิดขึ้นควบคู่กับเป้าหมายและ กลยุทธ์ เพื่อให้มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการลำดับขั้นตอนของการปฏิบัติงานอย่างชัดเจนว่าจะทำอะไร ในช่วงเวลาใด จะต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้างและปริมาณเท่าใด งานนั้น ๆจะแล้วเสร็จเมื่อใด เป็นต้น การกำหนดแผนปฏิบัติงานจะทำให้สามารถตรวจสอบผลการดำเนินงานได้ว่า งานนั้นดำเนินไปได้เพียงใด มีปัญหาอุปสรรคอะไรที่ขัดขวางและจะแก้ปัญหาอุปสรรคเหล่านั้นได้อย่างไรเพื่อให้สำเร็จลุล่วงตามแผน
    6. การปฏิบัติตามแผน คือ ขั้นตอนของการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้เพื่อหาคำตอบว่า แผนที่วางไว้จะก่อให้เกิดประสิทธิผลหรือไม่ มากหรือน้อยเพียงใด และอะไรคือ ปัญหาอุปสรรคขวางกั้นมิให้การดำเนินงานประสบผลสำเร็จตามที่คาดหวัง ตลอดจนหาวิธีการในการแก้ไขปัญหาให้ลุล่วง
    7. ข้อมูลย้อนกลับ คือ การประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการประเมินนั้น ๆ ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่เพราะเหตุใด เพื่อแสวงหาวิธีการในการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป


    นาย ดนุสรณ์ เลิศเศรษฐี 12590028

    ตอบลบ
  35. กระบวนการวางแผนเป็นกระบวนการที่สำคัญอย่างหนึ่งของการบริหาร และเป็นกระบวนการท่ามีลักษณะของความเป็น “ศาสตร์” และความเป็น “ศิลป์” ผู้ที่บริหารพึงต้องมีความเข้าใจและมีทักษะ มีความชำนาญในการนำไปใช้ จึงจะทำให้การบริหารงานบรรลุถึงวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพอย่างแท้จริงที่กล่าวว่าการวางแผนเป็นศาสตร์ เพราะการวางแผนมีองค์ความรู้ เป็นการเฉพาะผู้ที่บริหารและนักวางแผนจะต้องเรียนรู้ ส่วนการวางแผนเป็นศิลป์ เพราะการวางแผนเมื่อกำหนดขึ้นแล้วการนำไปปฏิบัติหรือนำไปใช้นั้นผู้บริหารจะต้องใช้เทคนิควิธีการต่าง ๆ อย่างมาก เพื่อผลักดันให้ทรัพยากรทุกชนิดที่ต้องใช้ในแผนได้ทำงานตามหน้าที่ของมัน และในขณะเดียวกันผู้บริหาร หรือผู้ใช้แผนจะต้องผสมผสานปัจจัยและสภาพแวดล้อมต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เพื่อให้แผนทั้งแผนหรือโดยส่วนใหญ่ของแผนสามารถดำเนินการได้โดยจะต้องพยายามปรับแผนและสภาพแวดล้อมให้สอดคล้องกันตลอดเวลา มีทั้งหมด 3 ขั้นตอน คือ กำหนดพันธกิจ ตั้งเป้าหมาย และกำหนดแผนงาน
    (นางสาวภิตติมาตุ์ เอื้ออรุณชัย 12590062)

    ตอบลบ
  36. กระบวนการวางแผนพื้นฐาน (Basic Planning process) ซึ่งเป็นกระบวนการหลักขององค์กรที่จะต้องตอบ พันธกิจและเป้าหมายนั้นได้ เป็นสิ่งที่รับผิดชอบและกำหนดโดยผู้บริหารระดับสูงขององค์กร มีข้นตอนในการวางแผนดังนี้
    1.พันธกิจ mission
    - ข้อผูกมัดของบริษัทว่าบริษัทดำรงอยู่เพื่ออะไร ทำไมต้องมีบริษัทนี้
    Ex.พันธกิจของ TNI พันธกิจในการผลิตบัณฑิต ที่มีความรู้ความสามารถ เพื่อตอบสนองความต้องการของภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม
    2.เป้าหมาย
    - สิ่งที่จะตอบสังคมว่า องค์กรจะเป็นไปทางทิศทางใดในอนาคต Ex.เป้าหมายของคณะบริหารธุรกิจ จะเป็นคณะบริหารธุรกิจที่ติด
    อันดับ top 5 ใน มหาลัยเอกชนทั่วประเทศ
    3.แผน
    - เป้าหมายทำให้เกิดแผน(ก่อนจะมีแผนได้ ต้องมีพันธกิจ และเป้าหมายก่อน)

    รัญชริดา มะนุ่น 12590067

    ตอบลบ

  37. กระบวนการวางแผนพื้นฐาน (Basic Planning process) ซึ่งเป็นกระบวนการหลักขององค์กรที่จะต้องตอบ พันธกิจและเป้าหมายนั้นได้ เป็นสิ่งที่รับผิดชอบและกำหนดโดยผู้บริหารระดับสูงขององค์กร มีข้นตอนในการวางแผนดังนี้
    1.พันธกิจ mission
    - ข้อผูกมัดของบริษัทว่าบริษัทดำรงอยู่เพื่ออะไร ทำไมต้องมีบริษัทนี้
    Ex.พันธกิจของ TNI พันธกิจในการผลิตบัณฑิต ที่มีความรู้ความสามารถ เพื่อตอบสนองความต้องการของภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม
    2.เป้าหมาย
    - สิ่งที่จะตอบสังคมว่า องค์กรจะเป็นไปทางทิศทางใดในอนาคต Ex.เป้าหมายของคณะบริหารธุรกิจ จะเป็นคณะบริหารธุรกิจที่ติด
    อันดับ top 5 ใน มหาลัยเอกชนทั่วประเทศ
    3.แผน
    - เป้าหมายทำให้เกิดแผน(ก่อนจะมีแผนได้ ต้องมีพันธกิจ และเป้าหมายก่อน)
    (นางสาวพัชรา จูเอี่ยม 12590054)

    ตอบลบ
  38. กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงานอาจแบ่งได้เป็น 8ขั้นตอน
    1. การดำเนินการก่อนการวางแผน เป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผน เตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ องค์การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การกำหนดวิธีการวางแผน และการรวบรวมข้อมูล
    2. การวิเคราะห์ปัญหา การวิเคราะห์ปัญหานี้พิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่าง ๆ ใน หน่วยงานนั้น ๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใด จะต้องปรับปรุง เพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพขึ้นอย่างไรบ้าง
    3. การกำหนดแผนงาน พิจารณาและวิเคราะห์ปัญหา คณะกรรมการการวางแผนควรวิเคราะห์ว่า มีวิธีแก้ไข หรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง ทั้งสิ่งที่มีผลโดยตรงและสิ่งที่เกี่ยวข้อต่าง ๆ จัดแบ่งเป็นกลุ่มที่เรียกว่า แผนงาน ซึ่งหมายถึง จุดรวมของหน่วยงานที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้ผลรวมที่คล้ายคลึงกัน
    4. การกำหนดเป้าหมาย การที่จะทำงานตามแผนงานผู้ปฏิบัติจะต้องทราบเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ให้ ชัดเจนเสียก่อน การกำหนดเป้าหมายจึงต้องกำหนดให้ชัดเจนทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติเป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้
    5. การกำหนดวิธีการดำเนินการ การกำหนดวิธีการดำเนินงานนี้ ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน 3 ด้าน คือ การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล
    6. การกำหนดค่าใช้จ่าย องค์จะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละ ขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้น ๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร และรวมเงินที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมดเป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไรค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะได้มาจากแหล่งเงินทุนใดควรระบุไว้ให้ขัดเจน
    7. การปฏิบัติตามแผน ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนดสิ่งต่าง ๆเหล่านี้จะรวมอยู่ในขั้นตอนการนำเข้ากระบวนการผลิต และผลผลิต
    8. การประเมินผลและปรับปรุงแผน เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าพบว่ามีปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานในขั้นตอนใด ก็จะต้องมีการปรับปรุงแผนที่กำหนดไว้
    (ณัฐฌา ปักกัง 12590019)

    ตอบลบ
  39. กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงาน
    ประกอบด้วย8 ขั้นตอน โดยมีรายละเอียดในการดำเนินการแต่ละขั้นดังนี้
    1. การดำเนินการก่อนการวางแผน
    เป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผน เตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การกำหนดวิธีการวางแผน และการรวบรวมข้อมูล
    2. การวิเคราะห์ปัญหา
    พิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่างๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุงเพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพขึ้นอย่างไรบ้าง
    3. การกำหนดแผนงาน
    พิจารณาและวิเคราะห์ปัญหาว่ามีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง จัดแบ่งเป็นกลุ่มที่เรียกว่า แผนงาน ซึ่งหมายถึง จุดรวมของหน่วยงานที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ได้ผลรวมที่คล้ายคลึงกัน
    4. การกำหนดเป้าหมาย
    ต้องกำหนดให้ชัดเจนทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติ เป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน
    5. การกำหนดวิธีการดำเนินการ
    ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน 3 ด้าน คือการกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล การกำหนดวิธีปฏิบัติงานนั้นต้องอาศัยข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์มาแล้ว พิจารณาว่าการที่จะทำงานนั้นๆ ให้ลุล่วงได้ดีจะมีวิธีการทำอย่างไรบ้าง บันทึกแนวคิดทั้งหมดไว้ และนำมาวิเคราะห์ว่าวิธีการใดจะดีที่สุด และต้องกำหนดว่างานแต่ละอย่างจะต้องเริ่มต้นทำเมื่อใด และเสร็จสิ้นเมื่อใด ใช้เวลามากน้อยเพียงใด และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลา และผู้รับผิดชอบนี้ถ้าจัดทำเป็นแผนภูมิปฏิบัติงาน (Gantt chart) ก็จะดูได้ง่ายขึ้น
    6. การกำหนดค่าใช้จ่าย
    องค์จะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้นๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร และรวมเงินที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมดเป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร ค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะได้มาจากแหล่งเงินทุนใดควรระบุไว้ให้ชัดเจนด้วย
    7. การปฏิบัติตามแผน
    ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนด
    8. การประเมินผลและปรับปรุงแผน
    องค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าพบว่ามีปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานในขั้นตอนใด ก็จะต้องมีการปรับปรุงแผนที่กำหนดไว้
    การปฏิบัติงานให้ได้ผลดีนั้นองค์การจะต้องมีการวางแผนงานล่วงหน้า โดยอาศัยการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นพื้นฐานการกำหนดงานในแผนงาน การเขียนแผนงานองค์การต้องพยายามเขียนให้ชัดเจน การกำหนดจุดประสงค์ ขั้นตอนการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบเวลา และค่าใช่จ่ายที่ระบุไว้ชัดเจนจะช่วยให้การปฏิบัติตามแผนงาน เป็นไปตามที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ
    (ภัทรานิษฐ์ กุญแจทอง 12590059)

    ตอบลบ
  40. กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงานแบ่งได้เป็น 8 ขั้นตอน มีรายละเอียดในการดำเนินการแต่ละขั้นดังนี้
    1. การดำเนินการก่อนการวางแผน
    เป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผน เตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การกำหนดวิธีการวางแผน และการรวบรวมข้อมูล
    2. การวิเคราะห์ปัญหา
    พิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่างๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุงเพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพขึ้นอย่างไรบ้าง

    3. การกำหนดแผนงาน
    พิจารณาและวิเคราะห์ปัญหาว่ามีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง จัดแบ่งเป็นกลุ่มที่เรียกว่า แผนงาน ซึ่งหมายถึง จุดรวมของหน่วยงานที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ได้ผลรวมที่คล้ายคลึงกัน
    4. การกำหนดเป้าหมาย
    ต้องกำหนดให้ชัดเจนทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติ เป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน
    5. การกำหนดวิธีการดำเนินการ
    ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน 3 ด้าน คือการกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล การกำหนดวิธีปฏิบัติงานนั้นต้องอาศัยข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์มาแล้ว พิจารณาว่าการที่จะทำงานนั้นๆ ให้ลุล่วงได้ดีจะมีวิธีการทำอย่างไรบ้าง บันทึกแนวคิดทั้งหมดไว้ และนำมาวิเคราะห์ว่าวิธีการใดจะดีที่สุด และต้องกำหนดว่างานแต่ละอย่างจะต้องเริ่มต้นทำเมื่อใด และเสร็จสิ้นเมื่อใด ใช้เวลามากน้อยเพียงใด และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลา และผู้รับผิดชอบนี้ถ้าจัดทำเป็นแผนภูมิปฏิบัติงาน (Gantt chart) ก็จะดูได้ง่ายขึ้น
    6. การกำหนดค่าใช้จ่าย
    องค์จะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้นๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร และรวมเงินที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมดเป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร ค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะได้มาจากแหล่งเงินทุนใดควรระบุไว้ให้ชัดเจนด้วย
    7. การปฏิบัติตามแผน
    ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนด
    8. การประเมินผลและปรับปรุงแผน
    องค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าพบว่ามีปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานในขั้นตอนใด ก็จะต้องมีการปรับปรุงแผนที่กำหนดไว้
    การปฏิบัติงานให้ได้ผลดีนั้นองค์การจะต้องมีการวางแผนงานล่วงหน้า โดยอาศัยการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นพื้นฐานการกำหนดงานในแผนงาน การเขียนแผนงานองค์การต้องพยายามเขียนให้ชัดเจน การกำหนดจุดประสงค์ ขั้นตอนการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบเวลา และค่าใช่จ่ายที่ระบุไว้ชัดเจนจะช่วยให้การปฏิบัติตามแผนงาน เป็นไปตามที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ
    (นางสาวสิตานัน หรุ่นทอง 12590082)

    ตอบลบ

  41. การวางแผนเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ต้องอาศัยหลักเกณฑ์และความรู้ทางด้านทฤษฎีต่าง ๆ การกำหนดวิธีการต่าง ๆ จึงต้องอาศัยศิลปะในการดำเนินการและประสานงานของผู้บริหาร การวางแผนเป็นกระบวนการจึงต้องมีการดำเนินการอย่างเป็นลำดับขั้นตอนและแต่ละตอนนั้นจะมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน ถ้าขั้นตอนใดดำเนินการผิดพลาดก็จะส่งผลให้การดำเนินการในขั้นต่อ ๆ ไปประสบปัญหาล้มเหลวตามไปด้วยได้ กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงานอาจแบ่งได้เป็น 8 ขั้นตอน
    1. การดำเนินการก่อนการวางแผน เป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผน เตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ (เช่น แต่งตั้งให้มีฝ่ายวางแผนซึ่งอาจจะอยู่ในความรับผิดชอบของผู้บริหารหรือฝ่ายวิชาการ) องค์การ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การกำหนดวิธีการวางแผน (คณะกรรมการต้องช่วยกันคิดว่า จะต้องทำอย่างไรมีขั้นตอนอย่างไร และจะต้องมีคณะกรรมการหรือหน่วยงานอื่นมาร่วมในการวางแผนหรือไม่ ฯลฯ) และการรวบรวมข้อมูล (ให้หน่วยงานทุกหน่วยเก็บรวบรวมข้อมูลให้ครบถ้วนและทุกด้านและปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ)
    2. การวิเคราะห์ปัญหา การวิเคราะห์ปัญหานี้พิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่าง ๆ ในหน่วยงานนั้น ๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุง เพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพ
    3. การกำหนดแผนงานพิจารณาและวิเคราะห์ปัญหา คณะกรรมการการวางแผนควรวิเคราะห์ว่า มีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง ทั้งสิ่งที่มีผลโดยตรงและสิ่งที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ จัดแบ่งเป็นกลุ่มที่เรียกว่า แผนงาน ซึ่งหมายถึง จุดรวมของหน่วยงานที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้ผลรวมที่คล้ายคลึงกัน เช่น แผนงานพัฒนาและปรับปรุงด้านการผลิตขององค์การ งานพัฒนาบุคลากร ฯลฯ ในแต่ละแผนงานนั้น จะมีแผนงานที่เป็นส่วนย่อยของแผนงานนั้น เช่น ในแผนงานการพัฒนาและปรับปรุงงานด้านการผลิต อาจจะประกอบด้วยงานการปรับปรุงขั้นตอนการผลิตการประเมินวิธีการทำงานการเพิ่มประสิทธิภาพพนักงาน การประเมินผลผลิต เป็นต้น ซึ่งในแต่ละงานนั้น อาจมีกิจกรรมย่อย ๆ หลาย ๆ กิจกรรมก็ได้
    4. การกำหนดเป้าหมาย การที่จะทำงานตามแผนงานผู้ปฏิบัติจะต้องทราบเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนเสียก่อน การกำหนดเป้าหมายจึงต้องกำหนดให้ชัดเจนทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติเป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้
    5. การกำหนดวิธีการดำเนินการ การกำหนดวิธีการดำเนินงานนี้ ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน 3 ด้าน คือ การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผลการกำหนดวิธีปฏิบัติงานนั้นต้องอาศัยข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์มาแล้วพิจารณาว่าการที่จะทำงานนั้น ๆ ให้ลุล่วงได้ดีจะมีวิธีการทำอย่างไรบ้าง บันทึกแนวคิดทั้งหมดไว้ และนำมาวิเคราะห์ว่าวิธีการใดจะดีที่สุดบางครั้งอาจจะนำแนวคิดหลาย ๆ แนวคิดมาผสมผสานกันและจัดเรียงลำดับขั้นตอนการดำเนินงาน และต้องกำหนดว่างานแต่ละอย่างจะต้องเริ่มต้นทำเมื่อใดและเสร็จสิ้นเมื่อใด ใช้เวลามากน้อยเพียงใด และ ใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ การกำหนดวิธีปฏิบัติงานการกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบนี้ถ้าจัดทำเป็นแผนภูมิปฏิบัติงาน (Gantt chart) ก็จะดูได้ง่ายขึ้น
    6. การกำหนดค่าใช้จ่าย องค์จะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้น ๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร และรวมเงินที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมดเป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไรค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะได้มาจากแหล่งเงินทุนใดควรระบุไว้ให้ขัดเจนด้วย
    7. การปฏิบัติตามแผนขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนดสิ่งต่าง ๆเหล่านี้จะรวมอยู่ในขั้นตอนการนำเข้ากระบวนการผลิต และผลผลิต งานจะบรรลุเป้าหมายหรือไม่ส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหารว่ามีความรู้ความเข้าใจในบทบาท หน้าที่ และภาระของงานมากน้อยเพียงใด
    8. การประเมินผลและปรับปรุงแผนการประเมินผลการปฏิบัติองค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะ ๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าพบว่ามีปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานในขั้นตอนใด ก็จะต้องมีการปรับปรุงแผนที่กำหนดไว้

    นางสาววชิราพร คำกอง 12590068

    ตอบลบ
  42. กระบวนการวางแผน คือ กระบวนการในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมองค์กรทั้งภายในและภายนอก วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่คาดหวังเพื่อให้องค์การเป็นและไปให้ถึงในอนาคต วิธีการเพื่อนำไปสู่จุดหมายที่ต้องการและการปฏิบัติที่คาดหวังเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายนั้น สิ่งเหล่านี้คือกระบวนการในการวางแผนซึ่งประกอบด้วย
    1. การตั้งข้อสมมุติฐานเกี่ยวกับอนาคต ได้แก่ กระบวนการในการพิจารณา วิเคราะห์ ตัดสินใจ และคาดเดา เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร ทั้งในปัจจุบันตลอดจนโอกาสความน่าจะเป็นที่เป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์ในอนาคต เช่น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม การเมือง ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสและข้อจำกัด ซึ่งมีผลกระทบต่อจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กร เพื่อแสวงหาทิศทาง วิธีการนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
    2. การกำหนดวัตถุประสงค์ คือ การหาคำตอบของคำถามที่ว่า วิสัยทัศน์และภารกิจขององค์กรคืออะไร ? ขณะนี้องค์กรยืนอยู่ ณ จุดไหน ? ในอนาคตต้องการให้องค์กรเป็นอย่างไร ? อะไรคือเป้าหมายพื้นฐานและอะไรคือเป้าหมายเฉพาะ ? การกำหนดวัตถุประสงค์จะทำให้เห็นเป้าหมายที่ชัดเจน และทำให้วางแผนได้ชัดเจน แม่นตรง ต่อเป้าหมายที่วางไว้
    3. การกำหนดกลยุทธ์และการพัฒนากลยุทธ์ จัดเป็นการค้นหาวิธีการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่วางไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กรเป็นพื้นฐานในการพัฒนาตัดสินใจ เพื่อเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุดเพื่อเป็นการวางแผนและปฏิบัติการ
    4. การกำหนดเป้าหมาย ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายเฉพาะของหน่วงงาน ซึ่งเป้าหมายจะต้องมีลักษณะที่สามารถวัดได้เป็นตัวเลขและ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ระยะยาวขององค์กร
    5. การกำหนดแผนปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติงานจะเกิดขึ้นควบคู่กับเป้าหมายและ กลยุทธ์ เพื่อให้มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการลำดับขั้นตอนของการปฏิบัติงานอย่างชัดเจนว่าจะทำอะไร ในช่วงเวลาใด จะต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้างและปริมาณเท่าใด งานนั้น ๆจะแล้วเสร็จเมื่อใด เป็นต้น การกำหนดแผนปฏิบัติงานจะทำให้สามารถตรวจสอบผลการดำเนินงานได้ว่า งานนั้นดำเนินไปได้เพียงใด มีปัญหาอุปสรรคอะไรที่ขัดขวางและจะแก้ปัญหาอุปสรรคเหล่านั้นได้อย่างไรเพื่อให้สำเร็จลุล่วงตามแผน
    6. การปฏิบัติตามแผน คือ ขั้นตอนของการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้เพื่อหาคำตอบว่า แผนที่วางไว้จะก่อให้เกิดประสิทธิผลหรือไม่ มากหรือน้อยเพียงใด และอะไรคือ ปัญหาอุปสรรคขวางกั้นมิให้การดำเนินงานประสบผลสำเร็จตามที่คาดหวัง ตลอดจนหาวิธีการในการแก้ไขปัญหาให้ลุล่วง
    7. ข้อมูลย้อนกลับ คือ การประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการประเมินนั้น ๆ ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่เพราะเหตุใด เพื่อแสวงหาวิธีการในการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป

    (นางสาว สรัสนันท์ บุญมี 12590080)

    ตอบลบ
  43. การวางแผนถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญสำหรับผู้บริหารที่ต้องการจะประสบความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กรผู้บริหารจำเป็นต้องทราบว่ากระบวนการวางแผนประกอบด้วยขั้นตอน 3 ขั้น ได้แก่ 1. การกำหนดพันธกิจ 2. การตั้งเป้าหมายและ 3. การจัดทำแผน ซึ่งผู้บริหารจำเป็นต้องดำเนินการที่ละขั้นตอนให้ครบทั้ง 3 ขั้นตอนและสอดคล้องกัน จึงจะเป็นการวางแผนที่ครบถ้วนสมบูรณ์ ดังนี้

    1.การกำหนดพันธกิจ เป็นการอธิบายเหตุผลการดำรงอยู่ขององค์กรและกำหนดกรอบขอบเขตการดำเนินการของสมาชิกในองค์กรให้ชัดเจน
    2.การตั้งเป้าหมาย เป็นการกำหนดสิ่งที่ประสงค์จะให้เกิดขึ้นในเชิงรูปธรรม เพื่อให้สมาชิกในองค์กรทราบทิศทางการดำเนินงานขององค์กรและร่วมกันปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายนั้นๆ ผู้บริหารควรตระหนักว่าการตั้งเป้าหมายที่ดีจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานขององค์กรได้ และเป้าหมายที่ผู้บริหารสามารถเลือกมาประยุกต์ใช้กับองค์กรนั้นแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท มีหลายลักษณะควรประกอบด้วยเนื้อหาที่เหมาะสมและจูงใจให้สมาชิกปฏิบัติให้ถึงเป้าหมายด้วยความเต็มใจและนำไปสู่ความสำเร็จขององค์กร
    3.การจัดทำแผน เป็นวิธีการกำหนดขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องและสนับสนุนเป้าหมายที่กำหนดไว้ ผู้บริหารควรทราบประเภทของแผนที่ใช้งานกันโดยทั่วไป และเข้าใจลักษณะของแผนที่ดี เพื่อสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับองค์กร การดำเนินงานตามกระบวนการวางแผนนั้น อาจมีอุปสรรคหรือข้อจำกัดที่ผู้บริหารควรศึกษาและบริหารจัดการอย่างเหมาะสม เพื่อมิให้ส่งผลเสียต่อองค์กร ผู้บริหารที่สามารถวางแผนได้ดีนอกจากจะเป็นจุดเริ่มต้นในการเป็นผู้บริหารที่ดี แล้วยังเป็นเครื่องประกันความสำเร็จของตนเองและองค์กรอีกส่วนหนึ่ง สมดังที่มีผู้กล่าวไว้ว่าการเริ่มต้นที่ดีย่อมทำให้เกิดความสำเร็จไปแล้วครึ่งหนึ่ง
    (เบญญาภา กรีรถ 12590044)

    ตอบลบ
  44. กระบวนการในการวางแผนซึ่งประกอบด้วย
    1. การตั้งข้อสมมุติฐานเกี่ยวกับอนาคต ได้แก่ กระบวนการในการพิจารณา วิเคราะห์ ตัดสินใจ และคาดเดา เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร ทั้งในปัจจุบันตลอดจนโอกาสความน่าจะเป็นที่เป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์ในอนาคต เช่น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม การเมือง ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสและข้อจำกัด ซึ่งมีผลกระทบต่อจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กร เพื่อแสวงหาทิศทาง วิธีการนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
    2. การกำหนดวัตถุประสงค์ คือ การหาคำตอบของคำถามที่ว่า วิสัยทัศน์และภารกิจขององค์กรคืออะไร ? ขณะนี้องค์กรยืนอยู่ ณ จุดไหน ? ในอนาคตต้องการให้องค์กรเป็นอย่างไร ? อะไรคือเป้าหมายพื้นฐานและอะไรคือเป้าหมายเฉพาะ ? การกำหนดวัตถุประสงค์จะทำให้เห็นเป้าหมายที่ชัดเจน และทำให้วางแผนได้ชัดเจน แม่นตรง ต่อเป้าหมายที่วางไว้
    3. การกำหนดกลยุทธ์และการพัฒนากลยุทธ์ จัดเป็นการค้นหาวิธีการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่วางไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กรเป็นพื้นฐานในการพัฒนาตัดสินใจ เพื่อเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุดเพื่อเป็นการวางแผนและปฏิบัติการ
    4. การกำหนดเป้าหมาย ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายเฉพาะของหน่วงงาน ซึ่งเป้าหมายจะต้องมีลักษณะที่สามารถวัดได้เป็นตัวเลขและ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ระยะยาวขององค์กร
    พัชมน มนต์วิมลพร 12590053

    ตอบลบ

  45. กระบวนการวางแผน คือ กระบวนการในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมองค์กรทั้งภายในและภายนอก วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่คาดหวังเพื่อให้องค์การเป็นและไปให้ถึงในอนาคต วิธีการเพื่อนำไปสู่จุดหมายที่ต้องการและการปฏิบัติที่คาดหวังเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายนั้น สิ่งเหล่านี้คือกระบวนการในการวางแผนซึ่งประกอบด้วย
    1. การตั้งข้อสมมุติฐานเกี่ยวกับอนาคต ได้แก่ กระบวนการในการพิจารณา วิเคราะห์ ตัดสินใจ และคาดเดา เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร ทั้งในปัจจุบันตลอดจนโอกาสความน่าจะเป็นที่เป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์ในอนาคต เช่น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม การเมือง ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสและข้อจำกัด ซึ่งมีผลกระทบต่อจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กร เพื่อแสวงหาทิศทาง วิธีการนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
    2. การกำหนดวัตถุประสงค์ คือ การหาคำตอบของคำถามที่ว่า วิสัยทัศน์และภารกิจขององค์กรคืออะไร ? ขณะนี้องค์กรยืนอยู่ ณ จุดไหน ? ในอนาคตต้องการให้องค์กรเป็นอย่างไร ? อะไรคือเป้าหมายพื้นฐานและอะไรคือเป้าหมายเฉพาะ ? การกำหนดวัตถุประสงค์จะทำให้เห็นเป้าหมายที่ชัดเจน และทำให้วางแผนได้ชัดเจน แม่นตรง ต่อเป้าหมายที่วางไว้
    3. การกำหนดกลยุทธ์และการพัฒนากลยุทธ์ จัดเป็นการค้นหาวิธีการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่วางไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กรเป็นพื้นฐานในการพัฒนาตัดสินใจ เพื่อเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุดเพื่อเป็นการวางแผนและปฏิบัติการ
    4. การกำหนดเป้าหมาย ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายเฉพาะของหน่วงงาน ซึ่งเป้าหมายจะต้องมีลักษณะที่สามารถวัดได้เป็นตัวเลขและ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ระยะยาวขององค์กร
    5. การกำหนดแผนปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติงานจะเกิดขึ้นควบคู่กับเป้าหมายและ กลยุทธ์ เพื่อให้มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการลำดับขั้นตอนของการปฏิบัติงานอย่างชัดเจนว่าจะทำอะไร ในช่วงเวลาใด จะต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้างและปริมาณเท่าใด งานนั้น ๆจะแล้วเสร็จเมื่อใด เป็นต้น การกำหนดแผนปฏิบัติงานจะทำให้สามารถตรวจสอบผลการดำเนินงานได้ว่า งานนั้นดำเนินไปได้เพียงใด มีปัญหาอุปสรรคอะไรที่ขัดขวางและจะแก้ปัญหาอุปสรรคเหล่านั้นได้อย่างไรเพื่อให้สำเร็จลุล่วงตามแผน
    6. การปฏิบัติตามแผน คือ ขั้นตอนของการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้เพื่อหาคำตอบว่า แผนที่วางไว้จะก่อให้เกิดประสิทธิผลหรือไม่ มากหรือน้อยเพียงใด และอะไรคือ ปัญหาอุปสรรคขวางกั้นมิให้การดำเนินงานประสบผลสำเร็จตามที่คาดหวัง ตลอดจนหาวิธีการในการแก้ไขปัญหาให้ลุล่วง
    7. ข้อมูลย้อนกลับ คือ การประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการประเมินนั้น ๆ ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่เพราะเหตุใด เพื่อแสวงหาวิธีการในการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป


    (นางสาวชนาวาส บัววงค์) 12590013

    ตอบลบ
  46. การวางแผนเป็นกระบวนการที่สำคัญอย่างหนึ่งของการบริหาร และเป็นกระบวนการท่ามีลักษณะของความเป็น “ศาสตร์” และความเป็น “ศิลป์” ผู้ที่บริหารพึงต้องมีความเข้าใจและมีทักษะ มีความชำนาญในการนำไปใช้ จึงจะทำให้การบริหารงานบรรลุถึงวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพอย่างแท้จริงที่กล่าวว่าการวางแผนเป็นศาสตร์ เพราะการวางแผนมีองค์ความรู้ เป็นการเฉพาะผู้ที่บริหารและนักวางแผนจะต้องเรียนรู้ ส่วนการวางแผนเป็นศิลป์ เพราะการวางแผนเมื่อกำหนดขึ้นแล้วการนำไปปฏิบัติหรือนำไปใช้นั้นผู้บริหารจะต้องใช้เทคนิควิธีการต่าง ๆ อย่างมาก เพื่อผลักดันให้ทรัพยากรทุกชนิดที่ต้องใช้ในแผนได้ทำงานตามหน้าที่ของมัน และในขณะเดียวกันผู้บริหาร หรือผู้ใช้แผนจะต้องผสมผสานปัจจัยและสภาพแวดล้อมต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เพื่อให้แผนทั้งแผนหรือโดยส่วนใหญ่ของแผนสามารถดำเนินการได้โดยจะต้องพยายามปรับแผนและสภาพแวดล้อมให้สอดคล้องกันตลอดเวลา มีทั้งหมด 3 ขั้นตอน คือ กำหนดพันธกิจ ตั้งเป้าหมาย และกำหนดแผนงาน ผู้บริหารควรมีการวางแผนโดยนำแผนงานนั้นไปสื่อสารให้สมาชิกในองค์กรเข้าใจในทิศทางเดียวกัน

    (หมายขวัญ นวลอุไร 12590099)

    ตอบลบ
  47. การวางแผนการทำงานสำหรับองค์กรที่ต้องการมีระบบการบริหารจัดการที่ดี มีขั้นตอนดังต่อไปนี้:-
    1. การกำหนดวัตถุประสงค์
    1.1 การวางแผนจำเป็นจะต้องมาจากการะดมสมองจากผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาขององค์กร และมีกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ (ไม่ใช่ใครเสียงดัง ใครตำแหน่งใหญ่ ก็พูดอยู่คนเดียว)
    1.2 การวางแผนเริ่มต้นด้วยการตั้งค่าเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่จะประสบความสำเร็จ
    1.3 การกำหนดวัตถุประสงค์จะต้องมีความสอดคล้องกับเหตุและผลสำหรับการดำเนินกิจกรรมหลักต่างๆ และสามารถบ่งบอกถึงทิศทางของเป้าหมายที่จะดำเนินการได้
    1.4 การกำหนดวัตถุประสงค์จำเป็นจะต้องเป็นเรื่องที่ปฎิบัติได้จริง เป็นภาษาที่เข้าใจง่าย ช้ดเจน และมีขอบเขตการปฎิบัติงานที่ชัดเจน สอดคล้องกับศักยภาพของทีมงานหลัก
    1.5 การกำหนดวัตถุประสงค์จะต้องมีหน่วยวัด หรือ หน่วยนับในเชิงปริมาณ เช่น มีกำไรเพิ่มขึ้น 30% ภายใน 2 ปี มีการประกวดระดับชาติและได้รับรับรางวัลชนะเลิศ ภายใน 3 ปี เป็นต้น
    2. การกำหนดการวางแผนอย่างเป็นระบบ
    2.1 การวางแผนจะต้องมีสมมติฐานเกี่ยวกับรูปแบบ และเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
    2.2 ข้อมูลพื้นฐานจะต้องสอดคล้องกับกลยุทธ์กับองค์กร และตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ ขององค์กรที่ชัดเจน
    2.3 การกำหนดแผนจะต้องมีการกำหนดแนวโน้มความเบี่ยงเบนของแผนขณะที่ได้มีการดำเนินงานจริงๆ และพยามค้นหาสาเหตุของการเบี่ยงเบนเหล่านั้น ด้วยตัวชี้วัดความเสี่ยง และตัวชี้วัดความสำเร็จขององค์กร
    2.4 การสร้างจินตภาพ (Scenario Planing) คุณและทีมงานจะต้องมีการสร้างภาพในอนาคตว่าจะเกิดอุปสรรคอะไรบ้าง? จะแก้ปัญหาด้วยวิธีไหน และอย่างไร?
    2.5 การวางแผนจะต้องมีการศึกษาปัจจัยทั้งจากภายใน และปัจจัยภายนอกที่จะมากระทบต่อวัตถุประสงค์ เช่น นโยบายการลงทุน ความสัมพันธ์ของพันธมิตรกับองค์กร ปรัชญาในการทำงาน การเปลี่ยนแปลงของสภาวะเศรษฐกิจภายนอก
    3. การกำหนดแผนระดับองค์กร จะต้องเป็นที่ยอมรับของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    3.1 การกำหนดแผนระดับองค์กรจะต้องเป็นที่ยอมรับของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่จะต้องมีความเข้าใจเป้าหมายของแผน กระบวนการปฎิบัติงาน วิธีการเดียวกัน
    3.2 การกำหนดวัตถุประสงค์ของแต่ละแผนการจะต้องมีการประเมินข้อดี และข้อเสียภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่ในปัจจุบัน และสอดคล้องกับสถานการณ์
    3.3 มีการวิเคราะห์เชิงปริมาณเกี่ยวกับความสำเร็จของแผนที่ชัดเจน กำหนดล่วงหน้า ทุกหน่วยงานยอมรับในเงื่อนไขการวัดเชิงปริมาณ ที่เลือกใช้
    3.4 มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับแผนระดับองค์กรที่ชัดเจน
    3.5 มีการระบุตารางเวลาการทำงาน และลำดับขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน เชื่อถือได้
    3.6 มีการกำหนดหลักเกณฑ์ของแผน งบประมาณในแต่ละหน่วยงาน ระยะเวลา เป้าหมายความสำเร็จ ฯลฯ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมด
    4. กระบวนการติดตาม/ประเมินผลของแผน
    4.1 มีการกำหนดระยะเวลาที่จะติดตามวิธีการปฎิบัติ เป้าหมายที่สำเร็จ ระดับความก้าวหน้าของแผนที่ชัดเจน
    4.2 มีการกำหนดเงื่อนไขที่จะใช้ประเมินผลด้านความเสี่ยง และการเบี่ยงเบนของเป้าหมาของแผนที่กำหนดไว้
    4.3 มีขั้นตอนการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างแผนและการควบคุมฟังก์ชั่นของแผนที่ชัดเจน


    นางสาวณัฐนรี สีทองสุก 12590022

    ตอบลบ
  48. กระบวนการวางแผนประกอบด้วยขั้นตอน 3 ขั้น ได้แก่
    1. การกำหนดพันธกิจ
    2. การตั้งเป้าหมายและ
    3. การจัดทำแผน
    ควรมีวิธีการวางแผนดังนี้
    1.การกำหนดพันธกิจ เป็นการอธิบายเหตุผลการดำรงอยู่ขององค์กรและกำหนดกรอบขอบเขตการดำเนินการของสมาชิกในองค์กรให้ชัดเจน
    2.การตั้งเป้าหมาย เป็นการกำหนดสิ่งที่ประสงค์จะให้เกิดขึ้นในเชิงรูปธรรม เพื่อให้สมาชิกในองค์กรทราบทิศทางการดำเนินงานขององค์กรและร่วมกันปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายนั้นๆ ผู้บริหารควรตระหนักว่าการตั้งเป้าหมายที่ดีจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานขององค์กรได้ และเป้าหมายที่ผู้บริหารสามารถเลือกมาประยุกต์ใช้กับองค์กรนั้นแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท มีหลายลักษณะควรประกอบด้วยเนื้อหาที่เหมาะสมและจูงใจให้สมาชิกปฏิบัติให้ถึงเป้าหมายด้วยความเต็มใจและนำไปสู่ความสำเร็จขององค์กร
    3.การจัดทำแผน เป็นวิธีการกำหนดขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องและสนับสนุนเป้าหมายที่กำหนดไว้ ผู้บริหารควรทราบประเภทของแผนที่ใช้งานกันโดยทั่วไป และเข้าใจลักษณะของแผนที่ดี เพื่อสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับองค์กร การดำเนินงานตามกระบวนการวางแผนนั้น อาจมีอุปสรรคหรือข้อจำกัดที่ผู้บริหารควรศึกษาและบริหารจัดการอย่างเหมาะสม เพื่อมิให้ส่งผลเสียต่อองค์กร ผู้บริหารที่สามารถวางแผนได้ดีนอกจากจะเป็นจุดเริ่มต้นในการเป็นผู้บริหารที่ดี แล้วยังเป็นเครื่องประกันความสำเร็จของตนเองและองค์กรอีกส่วนหนึ่ง สมดังที่มีผู้กล่าวไว้ว่าการเริ่มต้นที่ดีย่อมทำให้เกิดความสำเร็จไปแล้วครึ่งหนึ่ง
    (ณัฐนพิน ชินวัฒนา 12590021)

    ตอบลบ
  49. การวางแผนถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญสำหรับผู้บริหารที่ต้องการจะประสบความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กรผู้บริหารจำเป็นต้องทราบว่ากระบวนการวางแผนประกอบด้วยขั้นตอน 3 ขั้น ได้แก่ 1. การกำหนดพันธกิจ 2. การตั้งเป้าหมายและ 3. การจัดทำแผน ซึ่งผู้บริหารจำเป็นต้องดำเนินการที่ละขั้นตอนให้ครบทั้ง 3 ขั้นตอนและสอดคล้องกัน จึงจะเป็นการวางแผนที่ครบถ้วนสมบูรณ์ ดังนี้
    1.การกำหนดพันธกิจ เป็นการอธิบายเหตุผลการดำรงอยู่ขององค์กรและกำหนดกรอบขอบเขตการดำเนินการของสมาชิกในองค์กรให้ชัดเจน
    2.การตั้งเป้าหมาย เป็นการกำหนดสิ่งที่ประสงค์จะให้เกิดขึ้นในเชิงรูปธรรม เพื่อให้สมาชิกในองค์กรทราบทิศทางการดำเนินงานขององค์กรและร่วมกันปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายนั้นๆ ผู้บริหารควรตระหนักว่าการตั้งเป้าหมายที่ดีจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานขององค์กรได้ และเป้าหมายที่ผู้บริหารสามารถเลือกมาประยุกต์ใช้กับองค์กรนั้นแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท มีหลายลักษณะควรประกอบด้วยเนื้อหาที่เหมาะสมและจูงใจให้สมาชิกปฏิบัติให้ถึงเป้าหมายด้วยความเต็มใจและนำไปสู่ความสำเร็จขององค์กร
    3.การจัดทำแผน เป็นวิธีการกำหนดขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องและสนับสนุนเป้าหมายที่กำหนดไว้ ผู้บริหารควรทราบประเภทของแผนที่ใช้งานกันโดยทั่วไป และเข้าใจลักษณะของแผนที่ดี เพื่อสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับองค์กร การดำเนินงานตามกระบวนการวางแผนนั้น อาจมีอุปสรรคหรือข้อจำกัดที่ผู้บริหารควรศึกษาและบริหารจัดการอย่างเหมาะสม เพื่อมิให้ส่งผลเสียต่อองค์กร ผู้บริหารที่สามารถวางแผนได้ดีนอกจากจะเป็นจุดเริ่มต้นในการเป็นผู้บริหารที่ดี แล้วยังเป็นเครื่องประกันความสำเร็จของตนเองและองค์กรอีกส่วนหนึ่ง สมดังที่มีผู้กล่าวไว้ว่าการเริ่มต้นที่ดีย่อมทำให้เกิดความสำเร็จไปแล้วครึ่งหนึ่ง
    (เอเซีย พิทยาพละ 12590112)

    ตอบลบ
  50. การวางแผนเป็นกระบวนการจึงต้องมีการดำเนินการอย่างเป็นลำดับขั้นตอนและแต่ละตอนนั้นจะมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน ถ้าขั้นตอนใดดำเนินการผิดพลาดก็จะส่งผลให้การดำเนินการในขั้นต่อ ๆ ไปประสบปัญหาล้มเหลวตามไปด้วยได้ กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงานอาจแบ่งได้เป็น8ขั้นตอน ดังนี้
    1.การดำเนินการก่อนการวางแผนเป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผนเตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ เช่น แต่งตั้งให้มีฝ่ายวางแผนซึ่งอาจจะอยู่ในความรับผิดชอบของผู้บริหารหรือฝ่ายวิชาการ
    2.การวิเคราะห์ปัญหาจะพิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่าง ๆ ในหน่วยงานนั้น ๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุง เพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพ
    3.การกำหนดแผนงานพิจารณาและวิเคราะห์ปัญหา คณะกรรมการการวางแผนควรวิเคราะห์ว่า มีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไร
    4.การกำหนดเป้าหมายการที่จะทำงานตามแผนงานผู้ปฏิบัติจะต้องทราบเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติเป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงานโดยจัดอบรมพนักงานฝ่ายการผลิตอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
    5.การกำหนดวิธีการดำเนินการ การกำหนดวิธีการดำเนินงานนี้ ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน3ด้าน คือการกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล
    6.การกำหนดค่าใช้จ่าย องค์กรจะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้น ๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเท่าไหร่
    7.การปฏิบัติตามแผน ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนด
    8.การประเมินผลและปรับปรุงแผน การประเมินผลการปฏิบัติองค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะ ๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่
    (สิทธิชัย พ่อค้าเรือ 12590083)

    ตอบลบ
  51. กระบวนการวางแผน คือ กระบวนการในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมองค์กรทั้งภายในและภายนอก วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่คาดหวังเพื่อให้องค์การเป็นและไปให้ถึงในอนาคต วิธีการเพื่อนำไปสู่จุดหมายที่ต้องการและการปฏิบัติที่คาดหวังเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายนั้น สิ่งเหล่านี้คือกระบวนการในการวางแผนซึ่งประกอบด้วย
    1. การตั้งข้อสมมุติฐานเกี่ยวกับอนาคต ได้แก่ กระบวนการในการพิจารณา วิเคราะห์ ตัดสินใจ และคาดเดา เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร ทั้งในปัจจุบันตลอดจนโอกาสความน่าจะเป็นที่เป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์ในอนาคต เช่น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม การเมือง ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสและข้อจำกัด ซึ่งมีผลกระทบต่อจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กร เพื่อแสวงหาทิศทาง วิธีการนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
    2. การกำหนดวัตถุประสงค์ คือ การหาคำตอบของคำถามที่ว่า วิสัยทัศน์และภารกิจขององค์กรคืออะไร ? ขณะนี้องค์กรยืนอยู่ ณ จุดไหน ? ในอนาคตต้องการให้องค์กรเป็นอย่างไร ? อะไรคือเป้าหมายพื้นฐานและอะไรคือเป้าหมายเฉพาะ ? การกำหนดวัตถุประสงค์จะทำให้เห็นเป้าหมายที่ชัดเจน และทำให้วางแผนได้ชัดเจน แม่นตรง ต่อเป้าหมายที่วางไว้
    3. การกำหนดกลยุทธ์และการพัฒนากลยุทธ์ จัดเป็นการค้นหาวิธีการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่วางไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กรเป็นพื้นฐานในการพัฒนาตัดสินใจ เพื่อเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุดเพื่อเป็นการวางแผนและปฏิบัติการ
    4. การกำหนดเป้าหมาย ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายเฉพาะของหน่วงงาน ซึ่งเป้าหมายจะต้องมีลักษณะที่สามารถวัดได้เป็นตัวเลขและ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ระยะยาวขององค์กร
    5. การกำหนดแผนปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติงานจะเกิดขึ้นควบคู่กับเป้าหมายและ กลยุทธ์ เพื่อให้มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการลำดับขั้นตอนของการปฏิบัติงานอย่างชัดเจนว่าจะทำอะไร ในช่วงเวลาใด จะต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้างและปริมาณเท่าใด งานนั้น ๆจะแล้วเสร็จเมื่อใด เป็นต้น การกำหนดแผนปฏิบัติงานจะทำให้สามารถตรวจสอบผลการดำเนินงานได้ว่า งานนั้นดำเนินไปได้เพียงใด มีปัญหาอุปสรรคอะไรที่ขัดขวางและจะแก้ปัญหาอุปสรรคเหล่านั้นได้อย่างไรเพื่อให้สำเร็จลุล่วงตามแผน
    6. การปฏิบัติตามแผน คือ ขั้นตอนของการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้เพื่อหาคำตอบว่า แผนที่วางไว้จะก่อให้เกิดประสิทธิผลหรือไม่ มากหรือน้อยเพียงใด และอะไรคือ ปัญหาอุปสรรคขวางกั้นมิให้การดำเนินงานประสบผลสำเร็จตามที่คาดหวัง ตลอดจนหาวิธีการในการแก้ไขปัญหาให้ลุล่วง
    7. ข้อมูลย้อนกลับ คือ การประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการประเมินนั้น ๆ ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่เพราะเหตุใด เพื่อแสวงหาวิธีการในการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป
    (สมภพ ขุนทรง 12590079)

    ตอบลบ
  52. ะบวนการวางแผนและปฏิบัติงานแบ่งได้เป็น 8 ขั้นตอน มีรายละเอียดในการดำเนินการแต่ละขั้นดังนี้
    1. การดำเนินการก่อนการวางแผน
    เป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผน เตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การกำหนดวิธีการวางแผน และการรวบรวมข้อมูล
    2. การวิเคราะห์ปัญหา
    พิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่างๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุงเพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพขึ้นอย่างไรบ้าง

    3. การกำหนดแผนงาน
    พิจารณาและวิเคราะห์ปัญหาว่ามีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง จัดแบ่งเป็นกลุ่มที่เรียกว่า แผนงาน ซึ่งหมายถึง จุดรวมของหน่วยงานที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ได้ผลรวมที่คล้ายคลึงกัน
    4. การกำหนดเป้าหมาย
    ต้องกำหนดให้ชัดเจนทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติ เป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน
    5. การกำหนดวิธีการดำเนินการ
    ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน 3 ด้าน คือการกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล การกำหนดวิธีปฏิบัติงานนั้นต้องอาศัยข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์มาแล้ว พิจารณาว่าการที่จะทำงานนั้นๆ ให้ลุล่วงได้ดีจะมีวิธีการทำอย่างไรบ้าง บันทึกแนวคิดทั้งหมดไว้ และนำมาวิเคราะห์ว่าวิธีการใดจะดีที่สุด และต้องกำหนดว่างานแต่ละอย่างจะต้องเริ่มต้นทำเมื่อใด และเสร็จสิ้นเมื่อใด ใช้เวลามากน้อยเพียงใด และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลา และผู้รับผิดชอบนี้ถ้าจัดทำเป็นแผนภูมิปฏิบัติงาน (Gantt chart) ก็จะดูได้ง่ายขึ้น
    6. การกำหนดค่าใช้จ่าย
    องค์จะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้นๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร และรวมเงินที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมดเป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร ค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะได้มาจากแหล่งเงินทุนใดควรระบุไว้ให้ชัดเจนด้วย
    7. การปฏิบัติตามแผน
    ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนด
    8. การประเมินผลและปรับปรุงแผน
    องค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าพบว่ามีปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานในขั้นตอนใด ก็จะต้องมีการปรับปรุงแผนที่กำหนดไว้
    การปฏิบัติงานให้ได้ผลดีนั้นองค์การจะต้องมีการวางแผนงานล่วงหน้า โดยอาศัยการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นพื้นฐานการกำหนดงานในแผนงาน การเขียนแผนงานองค์การต้องพยายามเขียนให้ชัดเจน การกำหนดจุดประสงค์ ขั้นตอนการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบเวลา และค่าใช่จ่ายที่ระบุไว้ชัดเจนจะช่วยให้การปฏิบัติตามแผนงาน เป็นไปตามที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ
    (นายชินวัตร พิพัฒน์พงศานนท์ 12590015)

    ตอบลบ
  53. กระบวนการวางแผน คือ กระบวนการในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมองค์กรทั้งภายในและภายนอก วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่คาดหวังเพื่อให้องค์การเป็นและไปให้ถึงในอนาคต วิธีการเพื่อนำไปสู่จุดหมายที่ต้องการและการปฏิบัติที่คาดหวังเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายนั้น สิ่งเหล่านี้คือกระบวนการในการวางแผนซึ่งประกอบด้วย
    1. การตั้งข้อสมมุติฐานเกี่ยวกับอนาคต ได้แก่ กระบวนการในการพิจารณา วิเคราะห์ ตัดสินใจ และคาดเดา เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร ทั้งในปัจจุบันตลอดจนโอกาสความน่าจะเป็นที่เป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์ในอนาคต เช่น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม การเมือง ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสและข้อจำกัด ซึ่งมีผลกระทบต่อจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กร เพื่อแสวงหาทิศทาง วิธีการนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
    2. การกำหนดวัตถุประสงค์ คือ การหาคำตอบของคำถามที่ว่า วิสัยทัศน์และภารกิจขององค์กรคืออะไร ? ขณะนี้องค์กรยืนอยู่ ณ จุดไหน ? ในอนาคตต้องการให้องค์กรเป็นอย่างไร ? อะไรคือเป้าหมายพื้นฐานและอะไรคือเป้าหมายเฉพาะ ? การกำหนดวัตถุประสงค์จะทำให้เห็นเป้าหมายที่ชัดเจน และทำให้วางแผนได้ชัดเจน แม่นตรง ต่อเป้าหมายที่วางไว้
    3. การกำหนดกลยุทธ์และการพัฒนากลยุทธ์ จัดเป็นการค้นหาวิธีการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่วางไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กรเป็นพื้นฐานในการพัฒนาตัดสินใจ เพื่อเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุดเพื่อเป็นการวางแผนและปฏิบัติการ
    4. การกำหนดเป้าหมาย ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายเฉพาะของหน่วงงาน ซึ่งเป้าหมายจะต้องมีลักษณะที่สามารถวัดได้เป็นตัวเลขและ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ระยะยาวขององค์กร
    5. การกำหนดแผนปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติงานจะเกิดขึ้นควบคู่กับเป้าหมายและ กลยุทธ์ เพื่อให้มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการลำดับขั้นตอนของการปฏิบัติงานอย่างชัดเจนว่าจะทำอะไร ในช่วงเวลาใด จะต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้างและปริมาณเท่าใด งานนั้น ๆจะแล้วเสร็จเมื่อใด เป็นต้น การกำหนดแผนปฏิบัติงานจะทำให้สามารถตรวจสอบผลการดำเนินงานได้ว่า งานนั้นดำเนินไปได้เพียงใด มีปัญหาอุปสรรคอะไรที่ขัดขวางและจะแก้ปัญหาอุปสรรคเหล่านั้นได้อย่างไรเพื่อให้สำเร็จลุล่วงตามแผน
    6. การปฏิบัติตามแผน คือ ขั้นตอนของการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้เพื่อหาคำตอบว่า แผนที่วางไว้จะก่อให้เกิดประสิทธิผลหรือไม่ มากหรือน้อยเพียงใด และอะไรคือ ปัญหาอุปสรรคขวางกั้นมิให้การดำเนินงานประสบผลสำเร็จตามที่คาดหวัง ตลอดจนหาวิธีการในการแก้ไขปัญหาให้ลุล่วง
    7. ข้อมูลย้อนกลับ คือ การประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการประเมินนั้น ๆ ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่เพราะเหตุใด เพื่อแสวงหาวิธีการในการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป
    (สิริกร ราชมณี12590084)

    ตอบลบ
  54. กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงานแบ่งได้เป็น 8 ขั้นตอน มีรายละเอียดในการดำเนินการแต่ละขั้นดังนี้
    1. การดำเนินการก่อนการวางแผน
    เป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผน เตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การกำหนดวิธีการวางแผน และการรวบรวมข้อมูล
    2. การวิเคราะห์ปัญหา
    พิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่างๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุงเพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพขึ้นอย่างไรบ้าง

    3. การกำหนดแผนงาน
    พิจารณาและวิเคราะห์ปัญหาว่ามีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง จัดแบ่งเป็นกลุ่มที่เรียกว่า แผนงาน ซึ่งหมายถึง จุดรวมของหน่วยงานที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ได้ผลรวมที่คล้ายคลึงกัน
    4. การกำหนดเป้าหมาย
    ต้องกำหนดให้ชัดเจนทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติ เป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน
    5. การกำหนดวิธีการดำเนินการ
    ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน 3 ด้าน คือการกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล การกำหนดวิธีปฏิบัติงานนั้นต้องอาศัยข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์มาแล้ว พิจารณาว่าการที่จะทำงานนั้นๆ ให้ลุล่วงได้ดีจะมีวิธีการทำอย่างไรบ้าง บันทึกแนวคิดทั้งหมดไว้ และนำมาวิเคราะห์ว่าวิธีการใดจะดีที่สุด และต้องกำหนดว่างานแต่ละอย่างจะต้องเริ่มต้นทำเมื่อใด และเสร็จสิ้นเมื่อใด ใช้เวลามากน้อยเพียงใด และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลา และผู้รับผิดชอบนี้ถ้าจัดทำเป็นแผนภูมิปฏิบัติงาน (Gantt chart) ก็จะดูได้ง่ายขึ้น
    6. การกำหนดค่าใช้จ่าย
    องค์จะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้นๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร และรวมเงินที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมดเป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร ค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะได้มาจากแหล่งเงินทุนใดควรระบุไว้ให้ชัดเจนด้วย
    7. การปฏิบัติตามแผน
    ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนด
    8. การประเมินผลและปรับปรุงแผน
    องค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าพบว่ามีปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานในขั้นตอนใด ก็จะต้องมีการปรับปรุงแผนที่กำหนดไว้
    การปฏิบัติงานให้ได้ผลดีนั้นองค์การจะต้องมีการวางแผนงานล่วงหน้า โดยอาศัยการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นพื้นฐานการกำหนดงานในแผนงาน การเขียนแผนงานองค์การต้องพยายามเขียนให้ชัดเจน การกำหนดจุดประสงค์ ขั้นตอนการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบเวลา และค่าใช่จ่ายที่ระบุไว้ชัดเจนจะช่วยให้การปฏิบัติตามแผนงาน เป็นไปตามที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ
    (ปาลิตา มนัสปัญญากุล 12590049)

    ตอบลบ

  55. การวางแผนถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญสำหรับผู้บริหารที่ต้องการจะประสบความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
    ผู้บริหารจำเป็นต้องทราบว่ากระบวนการวางแผนประกอบด้วยขั้นตอน 3 ขั้น ได้แก่
    1. การกำหนดพันธกิจ
    2. การตั้งเป้าหมาย
    3. การจัดทำแผน
    ซึ่งผู้บริหารจำเป็นต้องดำเนินการที่ละขั้นตอนให้ครบทั้ง 3 ขั้นตอนและสอดคล้องกัน จึงจะเป็นการวางแผนที่ครบถ้วนสมบูรณ์ ดังนี้

    1.การกำหนดพันธกิจ เป็นการอธิบายเหตุผลการดำรงอยู่ขององค์กรและกำหนดกรอบขอบเขตการดำเนินการของสมาชิกในองค์กรให้ชัดเจน
    2.การตั้งเป้าหมาย เป็นการกำหนดสิ่งที่ประสงค์จะให้เกิดขึ้นในเชิงรูปธรรม เพื่อให้สมาชิกในองค์กรทราบทิศทางการดำเนินงานขององค์กรและร่วมกันปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายนั้นๆ ผู้บริหารควรตระหนักว่าการตั้งเป้าหมายที่ดีจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานขององค์กรได้ และเป้าหมายที่ผู้บริหารสามารถเลือกมาประยุกต์ใช้กับองค์กรนั้นแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท มีหลายลักษณะควรประกอบด้วยเนื้อหาที่เหมาะสมและจูงใจให้สมาชิกปฏิบัติให้ถึงเป้าหมายด้วยความเต็มใจและนำไปสู่ความสำเร็จขององค์กร
    3.การจัดทำแผน เป็นวิธีการกำหนดขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องและสนับสนุนเป้าหมายที่กำหนดไว้ ผู้บริหารควรทราบประเภทของแผนที่ใช้งานกันโดยทั่วไป และเข้าใจลักษณะของแผนที่ดี เพื่อสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับองค์กร การดำเนินงานตามกระบวนการวางแผนนั้น อาจมีอุปสรรคหรือข้อจำกัดที่ผู้บริหารควรศึกษาและบริหารจัดการอย่างเหมาะสม เพื่อมิให้ส่งผลเสียต่อองค์กร ผู้บริหารที่สามารถวางแผนได้ดีนอกจากจะเป็นจุดเริ่มต้นในการเป็นผู้บริหารที่ดี แล้วยังเป็นเครื่องประกันความสำเร็จของตนเองและองค์กรอีกส่วนหนึ่ง สมดังที่มีผู้กล่าวไว้ว่าการเริ่มต้นที่ดีย่อมทำให้เกิดความสำเร็จไปแล้วครึ่งหนึ่ง
    (นางสาวณัฐรี เต่าแก้ว 12590026)

    ตอบลบ
  56. กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงานแบ่งได้เป็น 8 ขั้นตอน มีรายละเอียดในการดำเนินการแต่ละขั้นดังนี้
    1. การดำเนินการก่อนการวางแผน
    เป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผน เตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การกำหนดวิธีการวางแผน และการรวบรวมข้อมูล
    2. การวิเคราะห์ปัญหา
    พิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่างๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุงเพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพขึ้นอย่างไรบ้าง
    3. การกำหนดแผนงาน
    พิจารณาและวิเคราะห์ปัญหาว่ามีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง จัดแบ่งเป็นกลุ่มที่เรียกว่า แผนงาน ซึ่งหมายถึง จุดรวมของหน่วยงานที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ได้ผลรวมที่คล้ายคลึงกัน
    4. การกำหนดเป้าหมาย
    ต้องกำหนดให้ชัดเจนทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติ เป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน
    5. การกำหนดวิธีการดำเนินการ
    ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน 3 ด้าน คือการกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล การกำหนดวิธีปฏิบัติงานนั้นต้องอาศัยข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์มาแล้ว พิจารณาว่าการที่จะทำงานนั้นๆ ให้ลุล่วงได้ดีจะมีวิธีการทำอย่างไรบ้าง บันทึกแนวคิดทั้งหมดไว้ และนำมาวิเคราะห์ว่าวิธีการใดจะดีที่สุด และต้องกำหนดว่างานแต่ละอย่างจะต้องเริ่มต้นทำเมื่อใด และเสร็จสิ้นเมื่อใด ใช้เวลามากน้อยเพียงใด และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลา และผู้รับผิดชอบนี้ถ้าจัดทำเป็นแผนภูมิปฏิบัติงาน (Gantt chart) ก็จะดูได้ง่ายขึ้น
    6. การกำหนดค่าใช้จ่าย
    องค์จะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้นๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร และรวมเงินที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมดเป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร ค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะได้มาจากแหล่งเงินทุนใดควรระบุไว้ให้ชัดเจนด้วย
    7. การปฏิบัติตามแผน
    ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนด
    8. การประเมินผลและปรับปรุงแผน
    องค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าพบว่ามีปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานในขั้นตอนใด ก็จะต้องมีการปรับปรุงแผนที่กำหนดไว้
    (สุรีรัตน์ สระเกตุ 12590098 )

    ตอบลบ
  57. กระบวนการวางแผนมีลำดับขั้นตอนอย่างไร เพื่อให้การวางแผนนำไปสู่การปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผู้บริหารควรมีวิธีการวางแผนอย่างไร แต่ละส่วนมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
    ตอบ : กระบวนการวางแผนประกอบไปด้วยขั้นตอนหลัก 3 ประการ ได้แก่
    1. การกำหนดพันธกิจ
    2. การกำหนดเป้าหมาย
    3. การกำหนดผนงาน
    เพื่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธภาพและประสิทธิผลผู้บริหารจำเป็นต้องดำเนินการให้ครบถ้วนทั้ง 3 ขั้นตอน คือ กำหนดพันธกิจ ตั้งเป้าหมาย และกำหนดแผนงาน จากนั้นจึงนำแผนงานนั้นไปสื่อการให้สมาชิกในองค์กรเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
    ซึ่งแต่ละส่วนมีความสัมพันธ์กัน ดังนี้
    พันธกิจ คือ เหตุผลในการดำรงอยู่และขอบเขตในการดำเนินงานขององค์กร ซึ่งมีความโดดเด่นและเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เมื่อองค์กรได้กำหนดพันธกิจขององค์กรแล้ว ผู้บริหารต้องกำหนดเป้าหมายเป็นลำดับถัดไป ทั้งนี้ เป้าหมายขององค์กร หมายถึง ผลลัพธ์ซึ่งองค์กรมุ่งประสงค์จากการดำเนินงาน ผู้บริหารจำเป็นต้องกำหนดเป้าหมายให้สอดคล้องกับพันธกิจ เมื่อองค์กรกำหนดพันธกิจและเป้าหมายการดำเนินงานที่ชัดเจนแล้ว กิจกรรมต่อไปของกระบวนการวางแผนคือ การจัดทำแผนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนด แผน จึงหมายถึง วิธีการซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องกับเป้าหมายและสนับสนุนให้องค์กรสามารถบรรลุป้าหมายตามพันธกิจที่กำหนดขึ้น
    (นางสาวดวงหทัย โฉมมา 12590029)

    ตอบลบ
  58. การวางแผนเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ต้องอาศัยหลักเกณฑ์และความรู้ทางด้านทฤษฎีต่าง ๆ การกำหนดวิธีการต่าง ๆ จึงต้องอาศัยศิลปะในการดำเนินการและประสานงานของผู้บริหาร การวางแผนเป็นกระบวนการจึงต้องมีการดำเนินการอย่างเป็นลำดับขั้นตอนและแต่ละตอนนั้นจะมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน ถ้าขั้นตอนใดดำเนินการผิดพลาดก็จะส่งผลให้การดำเนินการในขั้นต่อ ๆ ไปประสบปัญหาล้มเหลวตามไปด้วยได้ กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงานอาจแบ่งได้เป็น 8 ขั้นตอน
    1. การดำเนินการก่อนการวางแผน เป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผน เตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ (เช่น แต่งตั้งให้มีฝ่ายวางแผนซึ่งอาจจะอยู่ในความรับผิดชอบของผู้บริหารหรือฝ่ายวิชาการ) องค์การ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การกำหนดวิธีการวางแผน (คณะกรรมการต้องช่วยกันคิดว่า จะต้องทำอย่างไรมีขั้นตอนอย่างไร และจะต้องมีคณะกรรมการหรือหน่วยงานอื่นมาร่วมในการวางแผนหรือไม่ ฯลฯ) และการรวบรวมข้อมูล (ให้หน่วยงานทุกหน่วยเก็บรวบรวมข้อมูลให้ครบถ้วนและทุกด้านและปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ)
    2. การวิเคราะห์ปัญหา การวิเคราะห์ปัญหานี้พิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่าง ๆ ในหน่วยงานนั้น ๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุง เพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพ
    3. การกำหนดแผนงานพิจารณาและวิเคราะห์ปัญหา คณะกรรมการการวางแผนควรวิเคราะห์ว่า มีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง ทั้งสิ่งที่มีผลโดยตรงและสิ่งที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ จัดแบ่งเป็นกลุ่มที่เรียกว่า แผนงาน ซึ่งหมายถึง จุดรวมของหน่วยงานที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้ผลรวมที่คล้ายคลึงกัน เช่น แผนงานพัฒนาและปรับปรุงด้านการผลิตขององค์การ งานพัฒนาบุคลากร ฯลฯ ในแต่ละแผนงานนั้น จะมีแผนงานที่เป็นส่วนย่อยของแผนงานนั้น เช่น ในแผนงานการพัฒนาและปรับปรุงงานด้านการผลิต อาจจะประกอบด้วยงานการปรับปรุงขั้นตอนการผลิตการประเมินวิธีการทำงานการเพิ่มประสิทธิภาพพนักงาน การประเมินผลผลิต เป็นต้น ซึ่งในแต่ละงานนั้น อาจมีกิจกรรมย่อย ๆ หลาย ๆ กิจกรรมก็ได้
    4. การกำหนดเป้าหมาย การที่จะทำงานตามแผนงานผู้ปฏิบัติจะต้องทราบเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนเสียก่อน การกำหนดเป้าหมายจึงต้องกำหนดให้ชัดเจนทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติเป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้
    5. การกำหนดวิธีการดำเนินการ การกำหนดวิธีการดำเนินงานนี้ ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน 3 ด้าน คือ การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผลการกำหนดวิธีปฏิบัติงานนั้นต้องอาศัยข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์มาแล้วพิจารณาว่าการที่จะทำงานนั้น ๆ ให้ลุล่วงได้ดีจะมีวิธีการทำอย่างไรบ้าง บันทึกแนวคิดทั้งหมดไว้ และนำมาวิเคราะห์ว่าวิธีการใดจะดีที่สุดบางครั้งอาจจะนำแนวคิดหลาย ๆ แนวคิดมาผสมผสานกันและจัดเรียงลำดับขั้นตอนการดำเนินงาน และต้องกำหนดว่างานแต่ละอย่างจะต้องเริ่มต้นทำเมื่อใดและเสร็จสิ้นเมื่อใด ใช้เวลามากน้อยเพียงใด และ ใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ การกำหนดวิธีปฏิบัติงานการกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบนี้ถ้าจัดทำเป็นแผนภูมิปฏิบัติงาน (Gantt chart) ก็จะดูได้ง่ายขึ้น
    6. การกำหนดค่าใช้จ่าย องค์จะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้น ๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร และรวมเงินที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมดเป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไรค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะได้มาจากแหล่งเงินทุนใดควรระบุไว้ให้ขัดเจนด้วย
    7. การปฏิบัติตามแผนขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนดสิ่งต่าง ๆเหล่านี้จะรวมอยู่ในขั้นตอนการนำเข้ากระบวนการผลิต และผลผลิต งานจะบรรลุเป้าหมายหรือไม่ส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหารว่ามีความรู้ความเข้าใจในบทบาท หน้าที่ และภาระของงานมากน้อยเพียงใด
    8. การประเมินผลและปรับปรุงแผนการประเมินผลการปฏิบัติองค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะ ๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าพบว่ามีปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานในขั้นตอนใด ก็จะต้องมีการปรับปรุงแผนที่กำหนดไว้
    (นางสาวสุชานรี เวียนมานะ 12590089)

    ตอบลบ
  59. กระบวนการวางแผน คือ กระบวนการในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมองค์กรทั้งภายในและภายนอก วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่คาดหวังเพื่อให้องค์การเป็นและไปให้ถึงในอนาคต วิธีการเพื่อนำไปสู่จุดหมายที่ต้องการและการปฏิบัติที่คาดหวังเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายนั้น สิ่งเหล่านี้คือกระบวนการในการวางแผนซึ่งประกอบด้วย
    1. การตั้งข้อสมมุติฐานเกี่ยวกับอนาคต ได้แก่ กระบวนการในการพิจารณา วิเคราะห์ ตัดสินใจ และคาดเดา เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร ทั้งในปัจจุบันตลอดจนโอกาสความน่าจะเป็นที่เป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์ในอนาคต เช่น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม การเมือง ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสและข้อจำกัด ซึ่งมีผลกระทบต่อจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กร เพื่อแสวงหาทิศทาง วิธีการนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
    2. การกำหนดวัตถุประสงค์ คือ การหาคำตอบของคำถามที่ว่า วิสัยทัศน์และภารกิจขององค์กรคืออะไร ? ขณะนี้องค์กรยืนอยู่ ณ จุดไหน ? ในอนาคตต้องการให้องค์กรเป็นอย่างไร ? อะไรคือเป้าหมายพื้นฐานและอะไรคือเป้าหมายเฉพาะ ? การกำหนดวัตถุประสงค์จะทำให้เห็นเป้าหมายที่ชัดเจน และทำให้วางแผนได้ชัดเจน แม่นตรง ต่อเป้าหมายที่วางไว้
    3. การกำหนดกลยุทธ์และการพัฒนากลยุทธ์ จัดเป็นการค้นหาวิธีการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่วางไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กรเป็นพื้นฐานในการพัฒนาตัดสินใจ เพื่อเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุดเพื่อเป็นการวางแผนและปฏิบัติการ
    4. การกำหนดเป้าหมาย ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายเฉพาะของหน่วงงาน ซึ่งเป้าหมายจะต้องมีลักษณะที่สามารถวัดได้เป็นตัวเลขและ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ระยะยาวขององค์กร
    5. การกำหนดแผนปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติงานจะเกิดขึ้นควบคู่กับเป้าหมายและ กลยุทธ์ เพื่อให้มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการลำดับขั้นตอนของการปฏิบัติงานอย่างชัดเจนว่าจะทำอะไร ในช่วงเวลาใด จะต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้างและปริมาณเท่าใด งานนั้น ๆจะแล้วเสร็จเมื่อใด เป็นต้น การกำหนดแผนปฏิบัติงานจะทำให้สามารถตรวจสอบผลการดำเนินงานได้ว่า งานนั้นดำเนินไปได้เพียงใด มีปัญหาอุปสรรคอะไรที่ขัดขวางและจะแก้ปัญหาอุปสรรคเหล่านั้นได้อย่างไรเพื่อให้สำเร็จลุล่วงตามแผน
    6. การปฏิบัติตามแผน คือ ขั้นตอนของการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้เพื่อหาคำตอบว่า แผนที่วางไว้จะก่อให้เกิดประสิทธิผลหรือไม่ มากหรือน้อยเพียงใด และอะไรคือ ปัญหาอุปสรรคขวางกั้นมิให้การดำเนินงานประสบผลสำเร็จตามที่คาดหวัง ตลอดจนหาวิธีการในการแก้ไขปัญหาให้ลุล่วง
    7. ข้อมูลย้อนกลับ คือ การประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการประเมินนั้น ๆ ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่เพราะเหตุใด เพื่อแสวงหาวิธีการในการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป
    (สัจจะ ปฎิบัติดี 12590081)

    ตอบลบ
  60. การวางแผนเป็นกระบวนการจึงต้องมีการดำเนินการอย่างเป็นลำดับขั้นตอนและแต่ละตอนนั้นจะมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน ถ้าขั้นตอนใดดำเนินการผิดพลาดก็จะส่งผลให้การดำเนินการในขั้นต่อ ๆ ไปประสบปัญหาล้มเหลวตามไปด้วยได้ กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงานอาจแบ่งได้เป็น8ขั้นตอน ดังนี้
    1.การดำเนินการก่อนการวางแผนเป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผนเตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ เช่น แต่งตั้งให้มีฝ่ายวางแผนซึ่งอาจจะอยู่ในความรับผิดชอบของผู้บริหารหรือฝ่ายวิชาการ
    2.การวิเคราะห์ปัญหาจะพิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่าง ๆ ในหน่วยงานนั้น ๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุง เพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพ
    3.การกำหนดแผนงานพิจารณาและวิเคราะห์ปัญหา คณะกรรมการการวางแผนควรวิเคราะห์ว่า มีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไร
    4.การกำหนดเป้าหมายการที่จะทำงานตามแผนงานผู้ปฏิบัติจะต้องทราบเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติเป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงานโดยจัดอบรมพนักงานฝ่ายการผลิตอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
    5.การกำหนดวิธีการดำเนินการ การกำหนดวิธีการดำเนินงานนี้ ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน3ด้าน คือการกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล
    6.การกำหนดค่าใช้จ่าย องค์กรจะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้น ๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเท่าไหร่
    7.การปฏิบัติตามแผน ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนด
    8.การประเมินผลและปรับปรุงแผน การประเมินผลการปฏิบัติองค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะ ๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่
    (วริศ เอี๊ยวขัยพร 070)

    ตอบลบ
  61. กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงาน
    ประกอบด้วย8 ขั้นตอน
    โดยมีรายละเอียดในการดำเนินการแต่ละขั้นดังนี้
    1. การดำเนินการก่อนการวางแผน
    เป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผน เตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การกำหนดวิธีการวางแผน และการรวบรวมข้อมูล
    2. การวิเคราะห์ปัญหา
    พิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่างๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุงเพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพขึ้นอย่างไรบ้าง

    3. การกำหนดแผนงาน
    พิจารณาและวิเคราะห์ปัญหาว่ามีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง จัดแบ่งเป็นกลุ่มที่เรียกว่า แผนงาน ซึ่งหมายถึง จุดรวมของหน่วยงานที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ได้ผลรวมที่คล้ายคลึงกัน
    4. การกำหนดเป้าหมาย
    ต้องกำหนดให้ชัดเจนทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติ เป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน
    5. การกำหนดวิธีการดำเนินการ
    ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน 3 ด้าน คือการกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล การกำหนดวิธีปฏิบัติงานนั้นต้องอาศัยข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์มาแล้ว พิจารณาว่าการที่จะทำงานนั้นๆ ให้ลุล่วงได้ดีจะมีวิธีการทำอย่างไรบ้าง บันทึกแนวคิดทั้งหมดไว้ และนำมาวิเคราะห์ว่าวิธีการใดจะดีที่สุด และต้องกำหนดว่างานแต่ละอย่างจะต้องเริ่มต้นทำเมื่อใด และเสร็จสิ้นเมื่อใด ใช้เวลามากน้อยเพียงใด และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลา และผู้รับผิดชอบนี้ถ้าจัดทำเป็นแผนภูมิปฏิบัติงาน (Gantt chart) ก็จะดูได้ง่ายขึ้น
    6. การกำหนดค่าใช้จ่าย
    องค์จะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้นๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร และรวมเงินที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมดเป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร ค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะได้มาจากแหล่งเงินทุนใดควรระบุไว้ให้ชัดเจนด้วย
    7. การปฏิบัติตามแผน
    ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนด
    8. การประเมินผลและปรับปรุงแผน
    องค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าพบว่ามีปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานในขั้นตอนใด ก็จะต้องมีการปรับปรุงแผนที่กำหนดไว้
    การปฏิบัติงานให้ได้ผลดีนั้นองค์การจะต้องมีการวางแผนงานล่วงหน้า โดยอาศัยการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นพื้นฐานการกำหนดงานในแผนงาน การเขียนแผนงานองค์การต้องพยายามเขียนให้ชัดเจน การกำหนดจุดประสงค์ ขั้นตอนการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบเวลา และค่าใช่จ่ายที่ระบุไว้ชัดเจนจะช่วยให้การปฏิบัติตามแผนงาน เป็นไปตามที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ
    (นางสาวภัทราพร ผังรักษ์ 12590061)

    ตอบลบ
  62. กระบวนการวางแผน คือ กระบวนการในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมองค์กรทั้งภายในและภายนอก วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่คาดหวังเพื่อให้องค์การเป็นและไปให้ถึงในอนาคต วิธีการเพื่อนำไปสู่จุดหมายที่ต้องการและการปฏิบัติที่คาดหวังเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายนั้น สิ่งเหล่านี้คือกระบวนการในการวางแผนซึ่งประกอบด้วย
    1. การตั้งข้อสมมุติฐานเกี่ยวกับอนาคต ได้แก่ กระบวนการในการพิจารณา วิเคราะห์ ตัดสินใจ และคาดเดา เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร ทั้งในปัจจุบันตลอดจนโอกาสความน่าจะเป็นที่เป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์ในอนาคต เช่น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม การเมือง ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสและข้อจำกัด ซึ่งมีผลกระทบต่อจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กร เพื่อแสวงหาทิศทาง วิธีการนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
    2. การกำหนดวัตถุประสงค์ คือ การหาคำตอบของคำถามที่ว่า วิสัยทัศน์และภารกิจขององค์กรคืออะไร ? ขณะนี้องค์กรยืนอยู่ ณ จุดไหน ? ในอนาคตต้องการให้องค์กรเป็นอย่างไร ? อะไรคือเป้าหมายพื้นฐานและอะไรคือเป้าหมายเฉพาะ ? การกำหนดวัตถุประสงค์จะทำให้เห็นเป้าหมายที่ชัดเจน และทำให้วางแผนได้ชัดเจน แม่นตรง ต่อเป้าหมายที่วางไว้
    3. การกำหนดกลยุทธ์และการพัฒนากลยุทธ์ จัดเป็นการค้นหาวิธีการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่วางไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กรเป็นพื้นฐานในการพัฒนาตัดสินใจ เพื่อเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุดเพื่อเป็นการวางแผนและปฏิบัติการ
    4. การกำหนดเป้าหมาย ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายเฉพาะของหน่วงงาน ซึ่งเป้าหมายจะต้องมีลักษณะที่สามารถวัดได้เป็นตัวเลขและ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ระยะยาวขององค์กร
    5. การกำหนดแผนปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติงานจะเกิดขึ้นควบคู่กับเป้าหมายและ กลยุทธ์ เพื่อให้มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการลำดับขั้นตอนของการปฏิบัติงานอย่างชัดเจนว่าจะทำอะไร ในช่วงเวลาใด จะต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้างและปริมาณเท่าใด งานนั้น ๆจะแล้วเสร็จเมื่อใด เป็นต้น การกำหนดแผนปฏิบัติงานจะทำให้สามารถตรวจสอบผลการดำเนินงานได้ว่า งานนั้นดำเนินไปได้เพียงใด มีปัญหาอุปสรรคอะไรที่ขัดขวางและจะแก้ปัญหาอุปสรรคเหล่านั้นได้อย่างไรเพื่อให้สำเร็จลุล่วงตามแผน
    6. การปฏิบัติตามแผน คือ ขั้นตอนของการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้เพื่อหาคำตอบว่า แผนที่วางไว้จะก่อให้เกิดประสิทธิผลหรือไม่ มากหรือน้อยเพียงใด และอะไรคือ ปัญหาอุปสรรคขวางกั้นมิให้การดำเนินงานประสบผลสำเร็จตามที่คาดหวัง ตลอดจนหาวิธีการในการแก้ไขปัญหาให้ลุล่วง
    7. ข้อมูลย้อนกลับ คือ การประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการประเมินนั้น ๆ ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่เพราะเหตุใด เพื่อแสวงหาวิธีการในการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป
    (นางสาว ณัฎฐา กมลสิลป์ 12590018)

    ตอบลบ
  63. กระบวนการวางแผน คือ กระบวนการในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมองค์กรทั้งภายในและภายนอก วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่คาดหวังเพื่อให้องค์การเป็นและไปให้ถึงในอนาคต วิธีการเพื่อนำไปสู่จุดหมายที่ต้องการและการปฏิบัติที่คาดหวังเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายนั้น สิ่งเหล่านี้คือกระบวนการในการวางแผนซึ่งประกอบด้วย
    1. การตั้งข้อสมมุติฐานเกี่ยวกับอนาคต ได้แก่ กระบวนการในการพิจารณา วิเคราะห์ ตัดสินใจ และคาดเดา เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร ทั้งในปัจจุบันตลอดจนโอกาสความน่าจะเป็นที่เป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์ในอนาคต เช่น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม การเมือง ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสและข้อจำกัด ซึ่งมีผลกระทบต่อจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กร เพื่อแสวงหาทิศทาง วิธีการนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
    2. การกำหนดวัตถุประสงค์ คือ การหาคำตอบของคำถามที่ว่า วิสัยทัศน์และภารกิจขององค์กรคืออะไร ? ขณะนี้องค์กรยืนอยู่ ณ จุดไหน ? ในอนาคตต้องการให้องค์กรเป็นอย่างไร ? อะไรคือเป้าหมายพื้นฐานและอะไรคือเป้าหมายเฉพาะ ? การกำหนดวัตถุประสงค์จะทำให้เห็นเป้าหมายที่ชัดเจน และทำให้วางแผนได้ชัดเจน แม่นตรง ต่อเป้าหมายที่วางไว้
    3. การกำหนดกลยุทธ์และการพัฒนากลยุทธ์ จัดเป็นการค้นหาวิธีการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่วางไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กรเป็นพื้นฐานในการพัฒนาตัดสินใจ เพื่อเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุดเพื่อเป็นการวางแผนและปฏิบัติการ
    4. การกำหนดเป้าหมาย ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายเฉพาะของหน่วงงาน ซึ่งเป้าหมายจะต้องมีลักษณะที่สามารถวัดได้เป็นตัวเลขและ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ระยะยาวขององค์กร
    5. การกำหนดแผนปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติงานจะเกิดขึ้นควบคู่กับเป้าหมายและ กลยุทธ์ เพื่อให้มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการลำดับขั้นตอนของการปฏิบัติงานอย่างชัดเจนว่าจะทำอะไร ในช่วงเวลาใด จะต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้างและปริมาณเท่าใด งานนั้น ๆจะแล้วเสร็จเมื่อใด เป็นต้น การกำหนดแผนปฏิบัติงานจะทำให้สามารถตรวจสอบผลการดำเนินงานได้ว่า งานนั้นดำเนินไปได้เพียงใด มีปัญหาอุปสรรคอะไรที่ขัดขวางและจะแก้ปัญหาอุปสรรคเหล่านั้นได้อย่างไรเพื่อให้สำเร็จลุล่วงตามแผน
    6. การปฏิบัติตามแผน คือ ขั้นตอนของการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้เพื่อหาคำตอบว่า แผนที่วางไว้จะก่อให้เกิดประสิทธิผลหรือไม่ มากหรือน้อยเพียงใด และอะไรคือ ปัญหาอุปสรรคขวางกั้นมิให้การดำเนินงานประสบผลสำเร็จตามที่คาดหวัง ตลอดจนหาวิธีการในการแก้ไขปัญหาให้ลุล่วง
    7. ข้อมูลย้อนกลับ คือ การประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการประเมินนั้น ๆ ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่เพราะเหตุใด เพื่อแสวงหาวิธีการในการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป
    (สุรีรัตน์ ศักดิ์ภิรมย์ 12590954)

    ตอบลบ
  64. กระบวนการวางแผน หมายถึงการกำหนดพันกิจ เป้าหมาย เเละเเผนงาน เพื่อให้องค์กรปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพเเละประสิทธิผลตามที่ประสงค์ กระบวนการวางเเผนึงประกอบด้วยขั้นตอน 3 ประการ
    1.การกำหนดพันธกิจ(Mission)
    การกำหนดขอบเขตของงานหรือบทบาทหน้าที่ขององค์การ ในลักษณะอาณัติ(Mandate)เพื่อให้องค์การบรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนfไว้ หรือเป็นพันธกิจตามยุทธศาสตร์ แผนชาติ นโยบายของรัฐบาล นโยบายของรัฐมนตรี ฯลฯ
    2.การกำหนดเป้าหมาย (Goals)
    การกำหนดเป้าหมาย หรือจุดมุ่งหมาย หรือวัตถุประสงค์ หรือหลัก หรือเป้าประสงค์จากวิสัยทัศน์ซึ่งมีลักษณะเชิงนามธรรมจะถูกแปลเป็นเป้าหมายที่เป็นรูปธรรม ที่แสดงถึงสิ่งที่ต้องการในอนาคต ต้องพยายามให้เกิดขึ้นหรือผลลัพธ์/ผลสำเร็จที่องค์การต้องการบรรลุถึง เป็นข้อความที่เกริ่นอย่างกว้าง ๆถึงผลลัพธ์(outcome)ขององค์การ อันเนื่องมาจากหน้าที่ขององค์การต้องสอดคล้องกับพันธกิจที่กำหนดไว้
    3.เเผน (Plans)
    เมื่อองค์กรกำหนดพันธกิจเเละเป้าหมายการดำเนินงานที่ชัดเจนเเล้ว กิจกรรมต่อไปของกระบวนการวางเเผนคือ การจัดทำเเผนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนด เเผนจึงหมายถึงวิธีการซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจำเป็นต้องจัดทำเเผนให้สอดคล้องกับเป้าหมาย เเละสนับสนุนให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจที่กำหนดขึ้น
    นายธรรศธรรม จำปาทอง 12590790

    ตอบลบ

  65. กระบวนการวางแผน คือ กระบวนการในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมองค์กรทั้งภายในและภายนอก วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่คาดหวังเพื่อให้องค์การเป็นและไปให้ถึงในอนาคต วิธีการเพื่อนำไปสู่จุดหมายที่ต้องการและการปฏิบัติที่คาดหวังเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายนั้น สิ่งเหล่านี้คือกระบวนการในการวางแผนซึ่งประกอบด้วย
    1. การตั้งข้อสมมุติฐานเกี่ยวกับอนาคต ได้แก่ กระบวนการในการพิจารณา วิเคราะห์ ตัดสินใจ และคาดเดา เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร ทั้งในปัจจุบันตลอดจนโอกาสความน่าจะเป็นที่เป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์ในอนาคต เช่น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม การเมือง ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสและข้อจำกัด ซึ่งมีผลกระทบต่อจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กร เพื่อแสวงหาทิศทาง วิธีการนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
    2. การกำหนดวัตถุประสงค์ คือ การหาคำตอบของคำถามที่ว่า วิสัยทัศน์และภารกิจขององค์กรคืออะไร ? ขณะนี้องค์กรยืนอยู่ ณ จุดไหน ? ในอนาคตต้องการให้องค์กรเป็นอย่างไร ? อะไรคือเป้าหมายพื้นฐานและอะไรคือเป้าหมายเฉพาะ ? การกำหนดวัตถุประสงค์จะทำให้เห็นเป้าหมายที่ชัดเจน และทำให้วางแผนได้ชัดเจน แม่นตรง ต่อเป้าหมายที่วางไว้
    3. การกำหนดกลยุทธ์และการพัฒนากลยุทธ์ จัดเป็นการค้นหาวิธีการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่วางไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กรเป็นพื้นฐานในการพัฒนาตัดสินใจ เพื่อเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุดเพื่อเป็นการวางแผนและปฏิบัติการ
    4. การกำหนดเป้าหมาย ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายเฉพาะของหน่วงงาน ซึ่งเป้าหมายจะต้องมีลักษณะที่สามารถวัดได้เป็นตัวเลขและ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ระยะยาวขององค์กร
    5. การกำหนดแผนปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติงานจะเกิดขึ้นควบคู่กับเป้าหมายและ กลยุทธ์ เพื่อให้มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการลำดับขั้นตอนของการปฏิบัติงานอย่างชัดเจนว่าจะทำอะไร ในช่วงเวลาใด จะต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้างและปริมาณเท่าใด งานนั้น ๆจะแล้วเสร็จเมื่อใด เป็นต้น การกำหนดแผนปฏิบัติงานจะทำให้สามารถตรวจสอบผลการดำเนินงานได้ว่า งานนั้นดำเนินไปได้เพียงใด มีปัญหาอุปสรรคอะไรที่ขัดขวางและจะแก้ปัญหาอุปสรรคเหล่านั้นได้อย่างไรเพื่อให้สำเร็จลุล่วงตามแผน
    6. การปฏิบัติตามแผน คือ ขั้นตอนของการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้เพื่อหาคำตอบว่า แผนที่วางไว้จะก่อให้เกิดประสิทธิผลหรือไม่ มากหรือน้อยเพียงใด และอะไรคือ ปัญหาอุปสรรคขวางกั้นมิให้การดำเนินงานประสบผลสำเร็จตามที่คาดหวัง ตลอดจนหาวิธีการในการแก้ไขปัญหาให้ลุล่วง
    7. ข้อมูลย้อนกลับ คือ การประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการประเมินนั้น ๆ ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่เพราะเหตุใด เพื่อแสวงหาวิธีการในการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป
    (วิลาสินี เกตุแก้ว12590073)

    ตอบลบ
  66. กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงานอาจแบ่งได้เป็น 8ขั้นตอน 
    1. การดำเนินการก่อนการวางแผน
    เป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผน เตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ (เช่น แต่งตั้งให้มีฝ่ายวางแผนซึ่งอาจจะอยู่ในความรับผิดชอบของผู้บริหารหรือฝ่ายวิชาการ) องค์การ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การกำหนดวิธีการวางแผน (คณะกรรมการต้องช่วยกันคิดว่า จะต้องทำอย่างไรมีขั้นตอนอย่างไร และจะต้องมีคณะกรรมการหรือหน่วยงานอื่นมาร่วมในการวางแผนหรือไม่ ฯลฯ) และการรวบรวมข้อมูล (ให้หน่วยงานทุกหน่วยเก็บรวบรวมข้อมูลให้ครบถ้วนและทุกด้านและปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ)

    2. การวิเคราะห์ปัญหาการวิเคราะห์ปัญหานี้พิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่าง ๆ ใน
    หน่วยงานนั้น ๆ จะต้องปรับปรุง เพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพ
    3. การกำหนดแผนงานพิจารณาและวิเคราะห์ปัญหา คณะกรรมการการวางแผนควรวิเคราะห์ว่า มีวิธีแก้ไข
    หรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง ทั้งสิ่งที่มีผลโดยตรงและสิ่งที่เกี่ยวข้อต่าง ๆ จัดแบ่งเป็นกลุ่มที่เรียกว่า แผนงาน ซึ่งหมายถึง จุดรวมของหน่วยงานที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้ผลรวมที่คล้ายคลึงกัน เช่น แผนงานพัฒนาและปรับปรุงด้านการผลิตขององค์การ งานพัฒนาบุคลากร ฯลฯ ในแต่ละแผนงานนั้น

    4. การกำหนดเป้าหมายการที่จะทำงานตามแผนงานผู้ปฏิบัติจะต้องทราบเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนเสียก่อน การกำหนดเป้าหมายจึงต้องกำหนดให้ชัดเจนทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติเป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน เป้าหมายที่กำหนดอาจเป็น

    1) จัดอบรมพนักงานฝ่ายการผลิตอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง

    2) จัดให้มีการศึกษาดูงานสำหรับหัวหน้างานแต่ละแผนกอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เป็นต้น

    5. การกำหนดวิธีการดำเนินการการกำหนดวิธีการดำเนินงานนี้ ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน 3 ด้าน คือ

    การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล

    การกำหนดวิธีปฏิบัติงานนั้นต้องอาศัยข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์มาแล้วพิจารณาว่าการที่จะทำงานนั้น ๆ ให้ลุล่วงได้ดีจะมีวิธีการทำอย่างไรบ้าง บันทึกแนวคิดทั้งหมดไว้ และนำมาวิเคราะห์ว่าวิธีการใดจะดีที่สุดบางครั้งอาจจะนำแนวคิดหลาย ๆ แนวคิดมาผสมผสานกันและจัดเรียงลำดับขั้นตอนการดำเนินงาน และต้องกำหนดว่างานแต่ละอย่างจะต้องเริ่มต้นทำเมื่อใดและเสร็จสิ้นเมื่อใด ใช้เวลามากน้อยเพียงใด และ ใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ การกำหนดวิธีปฏิบัติงานการกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบนี้ถ้าจัดทำเป็นแผนภูมิปฏิบัติงาน (Gantt chart) ก็จะดูได้ง่ายขึ้น

            สำหรับการกำหนดวิธีการประเมินผลนั้น ควรระบุว่า จะวัดอะไร วัดเมื่อไร และใช้เครื่องมือประเภทใด หากมีข้อพกพร่องก็จะได้รีบปรับปรุงแก้ไขได้ทันท่วงที

    6. การกำหนดค่าใช้จ่าย

         องค์จะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละ

    ขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้น ๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร และรวมเงินที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมดเป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไรค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะได้มาจากแหล่งเงินทุนใดควรระบุไว้ให้ขัดเจนด้วย

    ขั้นที่ 1 ถึงขั้นที่ 6 เป็นกระบวนการวางแผนก่อนที่จะลงมือปฏิบัติงาน เมื่อวางแผนงานเรียบร้อยผ่านการตรวจสอบ และได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจให้ดำเนินการได้แล้วก็จะถึงขั้นการปฏิบัติตามแผน

    7. การปฏิบัติตามแผน

              ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนดสิ่งต่าง ๆเหล่านี้จะรวมอยู่ในขั้นตอนการนำเข้ากระบวนการผลิต และผลผลิต งานจะบรรลุเป้าหมายหรือไม่ส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหารว่ามีความรู้ความเข้าใจในบทบาท หน้าที่ และภาระของงานมากน้อยเพียงใด

    8. การประเมินผลและปรับปรุงแผน

               การประเมินผลการปฏิบัติองค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะ ๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าพบว่ามีปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานในขั้นตอนใด ก็จะต้องมีการปรับปรุงแผนที่กำหนดไว้

    การวางแผน เป็นการกำหนดแนวทางการทำงานขององค์การในอนาคตซึ่งกระทำไว้ล่วงหน้าเมื่อลงมือปฏิบัติงานจริง ๆ บางอย่างอาจไม่เป็นอย่างที่คิดหรือวางแผนไว้ จึงต้องมีการปรับปรุงแผนหรือเปลี่ยนแผนใหม่ตามความเหมาะสม

    วราภรณ์ ขันสมบัติ 12590069

    ตอบลบ
  67. กระบวนการวางแผน คือ กระบวนการในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม องค์กรทั้งภายในและภายนอก วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่คาดหวัง เพื่อให้องค์การเป็นและไปให้ถึงในอนาคต วิธีการเพื่อนำไปสู่จุดหมายที่ต้องการและการปฏิบัติที่คาดหวัง เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายนั้น สิ่งเหล่านี้คือ กระบวนการในการวางแผนซึ่งประกอบด้วย
    1. การตั้งข้อสมมุติฐานเกี่ยวกับอนาคต ได้แก่ กระบวนการในการพิจารณา วิเคราะห์ ตัดสินใจ และคาดเดา เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร ทั้งในปัจจุบันตลอดจนโอกาสความน่าจะเป็นที่เป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์ในอนาคต เช่น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม การเมือง ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสและข้อจำกัด ซึ่งมีผลกระทบต่อจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กร เพื่อแสวงหาทิศทาง วิธีการนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
    2. การกำหนดวัตถุประสงค์ คือ การหาคำตอบของคำถามที่ว่า วิสัยทัศน์และภารกิจขององค์กรคืออะไร ? ขณะนี้องค์กรยืนอยู่ ณ จุดไหน ? ในอนาคตต้องการให้องค์กรเป็นอย่างไร ? อะไรคือเป้าหมายพื้นฐานและอะไรคือเป้าหมายเฉพาะ ? การกำหนดวัตถุประสงค์จะทำให้เห็นเป้าหมายที่ชัดเจน และทำให้วางแผนได้ชัดเจน แม่นตรง ต่อเป้าหมายที่วางไว้
    3. การกำหนดกลยุทธ์และการพัฒนากลยุทธ์ จัดเป็นการค้นหาวิธีการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่วางไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์กรเป็นพื้นฐานในการพัฒนาตัดสินใจ เพื่อเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุดเพื่อเป็นการวางแผนและปฏิบัติการ
    4. การกำหนดเป้าหมาย ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายเฉพาะของหน่วงงาน ซึ่งเป้าหมายจะต้องมีลักษณะที่สามารถวัดได้เป็นตัวเลขและ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ระยะยาวขององค์กร
    5. การกำหนดแผนปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติงานจะเกิดขึ้นควบคู่กับเป้าหมายและ กลยุทธ์ เพื่อให้มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการลำดับขั้นตอนของการปฏิบัติงานอย่างชัดเจนว่าจะทำอะไร ในช่วงเวลาใด จะต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้างและปริมาณเท่าใด งานนั้น ๆจะแล้วเสร็จเมื่อใด เป็นต้น การกำหนดแผนปฏิบัติงานจะทำให้สามารถตรวจสอบผลการดำเนินงานได้ว่า งานนั้นดำเนินไปได้เพียงใด มีปัญหาอุปสรรคอะไรที่ขัดขวางและจะแก้ปัญหาอุปสรรคเหล่านั้นได้อย่างไรเพื่อให้สำเร็จลุล่วงตามแผน
    6. การปฏิบัติตามแผน คือ ขั้นตอนของการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้เพื่อหาคำตอบว่า แผนที่วางไว้จะก่อให้เกิดประสิทธิผลหรือไม่ มากหรือน้อยเพียงใด และอะไรคือ ปัญหาอุปสรรคขวางกั้นมิให้การดำเนินงานประสบผลสำเร็จตามที่คาดหวัง ตลอดจนหาวิธีการในการแก้ไขปัญหาให้ลุล่วง
    7. ข้อมูลย้อนกลับ คือ การประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการประเมินนั้น ๆ ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่เพราะเหตุใด เพื่อแสวงหาวิธีการในการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป
    (ชุติกาญจน์ ปานดารา 12590016)

    ตอบลบ
  68. กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงานแบ่งได้เป็น 8 ขั้นตอน มีรายละเอียดในการดำเนินการแต่ละขั้นดังนี้
    1. การดำเนินการก่อนการวางแผน
    เป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผน เตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การกำหนดวิธีการวางแผน และการรวบรวมข้อมูล
    2. การวิเคราะห์ปัญหา
    พิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่างๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุงเพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพขึ้นอย่างไรบ้าง

    3. การกำหนดแผนงาน
    พิจารณาและวิเคราะห์ปัญหาว่ามีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง จัดแบ่งเป็นกลุ่มที่เรียกว่า แผนงาน ซึ่งหมายถึง จุดรวมของหน่วยงานที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ได้ผลรวมที่คล้ายคลึงกัน
    4. การกำหนดเป้าหมาย
    ต้องกำหนดให้ชัดเจนทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติ เป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน
    5. การกำหนดวิธีการดำเนินการ
    ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน 3 ด้าน คือการกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล การกำหนดวิธีปฏิบัติงานนั้นต้องอาศัยข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์มาแล้ว พิจารณาว่าการที่จะทำงานนั้นๆ ให้ลุล่วงได้ดีจะมีวิธีการทำอย่างไรบ้าง บันทึกแนวคิดทั้งหมดไว้ และนำมาวิเคราะห์ว่าวิธีการใดจะดีที่สุด และต้องกำหนดว่างานแต่ละอย่างจะต้องเริ่มต้นทำเมื่อใด และเสร็จสิ้นเมื่อใด ใช้เวลามากน้อยเพียงใด และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลา และผู้รับผิดชอบนี้ถ้าจัดทำเป็นแผนภูมิปฏิบัติงาน (Gantt chart) ก็จะดูได้ง่ายขึ้น
    6. การกำหนดค่าใช้จ่าย
    องค์จะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้นๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร และรวมเงินที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมดเป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร ค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะได้มาจากแหล่งเงินทุนใดควรระบุไว้ให้ชัดเจนด้วย
    7. การปฏิบัติตามแผน
    ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนด
    8. การประเมินผลและปรับปรุงแผน
    องค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าพบว่ามีปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานในขั้นตอนใด ก็จะต้องมีการปรับปรุงแผนที่กำหนดไว้
    การปฏิบัติงานให้ได้ผลดีนั้นองค์การจะต้องมีการวางแผนงานล่วงหน้า โดยอาศัยการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นพื้นฐานการกำหนดงานในแผนงาน การเขียนแผนงานองค์การต้องพยายามเขียนให้ชัดเจน การกำหนดจุดประสงค์ ขั้นตอนการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบเวลา และค่าใช่จ่ายที่ระบุไว้ชัดเจนจะช่วยให้การปฏิบัติตามแผนงาน เป็นไปตามที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ
    (อัษฎาวุธ เขตเจริญ 12590106)

    ตอบลบ
  69. เพื่อให้ผู้บริหารสามารถวางแผนเพื่อการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลจำเป็นต้องดำเนินการให้ครบถ้วนทั้ง 3 ขั้นตอน คือกำหนดพันธกิจ ตั้งเป้าหมายและกำหนดแผนงาน จากนั้นจึงนำแผนงานนั้นไปสื่อสารให้สมาชิกในองค์กรเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
    1.การกำหนดพันธกิจ เป็นการอธิบายเหตุผลในการดำรงอยู่และขอบเขตในการดำเนินขององค์กรซึ่งมีความโดดเด่นและเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว
    2.การตั้งเป้าหมาย เป็นการกำหนดสิ่งที่ประสงค์จะให้เกิดขึ้นในเชิงรูปธรรม เพื่อให้สมาชิกในองค์กรทราบทิศทางการดำเนินงานขององค์กรและร่วมกันปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายนั้นๆ ผู้บริหารควรตระหนักว่าการตั้งเป้าหมายที่ดีจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานขององค์กรได้ และเป้าหมายที่ผู้บริหารสามารถเลือกมาประยุกต์ใช้กับองค์กรนั้นแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท มีหลายลักษณะควรประกอบด้วยเนื้อหาที่เหมาะสมและจูงใจให้สมาชิกปฏิบัติให้ถึงเป้าหมายด้วยความเต็มใจและนำไปสู่ความสำเร็จขององค์กร
    3.การจัดทำแผน เมื่อกำหนดพันธกิจและเป้าหมายการดำเนินงานที่ชัดเจนแล้ว กิจกรรมต่อไปคือการจัดทำแผนเป็นวิธีการกำหนดขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจำเป็นต้องจัดทำแผนให้สอดคล้องและเป้าหมาย และสนับสนุนให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจที่กำหนดขึ้น
    การดำเนินงานตามกระบวนการวางแผนนั้น อาจมีอุปสรรคหรือข้อจำกัดที่ผู้บริหารควรศึกษาและบริหารจัดการอย่างเหมาะสม เพื่อไม่ให้ส่งผลเสียต่อองค์กร ผู้บริหารที่สามารถวางแผนได้ดีนอกจากจะเป็นจุดเริ่มต้นในการเป็นผู้บริหารที่ดี ยังเป็นเครื่องประกันความสำเร็จของตนเองและองค์กรอีกส่วนหนึ่ง
    (น.ส.ดารารัตน์ ดาสาลี 12590030)

    ตอบลบ
  70. กระบวนการวางแผนประกอบด้วยขั้นตอนหลัก 3 ประการ ดังนี้
    1. การกำหนดพันธกิจ เป็นเหตุในการดำรงอยู่และขอบเขตในการดำเนินงานขององค์กร ซึ่งมีความโดดเด่นและเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว
    2. การกำหนดเป้าหมาย เป็นผลลัพธ์ที่องค์กรมุ่งประสงค์จากการดำเนินการ ผู้บริหารจำเป็นต้องตั้งเป้าหมายให้สอดคล้องกับพันธกิจ และช่วยสนับสนุนให้พันธกิจขององค์กรเป็นจริง
    3. การกำหนดแผนงาน เป็นวิธีการที่กำหนดขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจำเป็นต้องจดทำแผนให้สอดคล้องกับเป้าหมาย และสนับสนุนให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจ
    ดังนั้น ผู้บริหารจึงต้องดำเนินการให้ครบทั้ง 3 ขั้นตอน เพื่อให้องค์กรปฏิบัติงานได้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามที่ตั้งไว้
    (นางสาวกชกร เดชกำแหง 12590001)

    ตอบลบ
  71. กระบวนการวางแผนและปฏิบัติงานแบ่งได้เป็น 8 ขั้นตอน มีรายละเอียดในการดำเนินการแต่ละขั้นดังนี้
    1. การดำเนินการก่อนการวางแผน เป็นงานขั้นเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มวางแผน เตรียมความพร้อมในด้านการจัดองค์การ (เช่น แต่งตั้งให้มีฝ่ายวางแผนซึ่งอาจจะอยู่ในความรับผิดชอบของผู้บริหารหรือฝ่ายวิชาการ) องค์การ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การกำหนดวิธีการวางแผน (คณะกรรมการต้องช่วยกันคิดว่า จะต้องทำอย่างไรมีขั้นตอนอย่างไร และจะต้องมีคณะกรรมการหรือหน่วยงานอื่นมาร่วมในการวางแผนหรือไม่ ฯลฯ) และการรวบรวมข้อมูล (ให้หน่วยงานทุกหน่วยเก็บรวบรวมข้อมูลให้ครบถ้วนและทุกด้านและปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ)
    2. การวิเคราะห์ปัญหา การวิเคราะห์ปัญหานี้พิจารณาจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบงานต่าง ๆ ในหน่วยงานนั้น ๆ ทั้งงานที่จำเป็นต้องทำและที่ปฏิบัติกันอยู่เป็นประจำว่า มีปัญหาในงานใดจะต้องปรับปรุง เพิ่ม หรือลดในงานตรงส่วนใดบ้างหรือจะขยายงานเดิมให้มีประสิทธิภาพขึ้นอย่างไรบ้างนอกจากนี้ยังต้องพิจารณางานที่จะทำขึ้นใหม่ จะริเริ่มงานใหม่ ๆ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีการผลิต รวมตลอดถึงแนวนโยบายขององค์การได้อย่างไรการพิจารณาและวิเคราะห์ปัญหานี้จะต้องอาศัยเครื่องมือการศึกษา และพิจารณาจากข้อมูลสถิติต่าง ๆ และแยกปัญหาหรือข้อมูลในแต่ละด้านและบันทึกรายกาต่าง ๆ เพื่อที่จะนำมาคิดจัดทำงานหรือแก้ปัญหาเหล่านั้นให้เป็นแผนงานหรือกิจกรรมต่อไป
    3. การกำหนดแผนงาน พิจารณาและวิเคราะห์ปัญหา คณะกรรมการการวางแผนควรวิเคราะห์ว่า มีวิธีแก้ไขหรือปรับปรุงพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง ทั้งสิ่งที่มีผลโดยตรงและสิ่งที่เกี่ยวข้อต่าง ๆ จัดแบ่งเป็นกลุ่มที่เรียกว่า แผนงาน ซึ่งหมายถึง จุดรวมของหน่วยงานที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้ผลรวมที่คล้ายคลึงกัน เช่น แผนงานพัฒนาและปรับปรุงด้านการผลิตขององค์การ งานพัฒนาบุคลากร ฯลฯ ในแต่ละแผนงานนั้น จะมีแผนงานที่เป็นส่วนย่อยของแผนงานนั้น เช่น ในแผนงานการพัฒนาและปรับปรุงงานด้านการผลิต อาจจะประกอบด้วยงานการปรับปรุงขั้นตอนการผลิตการประเมินวิธีการทำงานการเพิ่มประสิทธิภาพพนักงาน การประเมินผลผลิต เป็นต้น ซึ่งในแต่ละงานนั้น อาจมีกิจกรรมย่อย ๆ หลาย ๆ กิจกรรมก็ได้
    4. การกำหนดเป้าหมาย การที่จะทำงานตามแผนงานผู้ปฏิบัติจะต้องทราบเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ให้
    ชัดเจนเสียก่อน การกำหนดเป้าหมายจึงต้องกำหนดให้ชัดเจนทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติเป้าหมายที่องค์การกำหนดนั้นควรชี้แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน เป้าหมายที่กำหนดอาจเป็น
    5. การกำหนดวิธีการดำเนินการ การกำหนดวิธีการดำเนินงานนี้ ผู้บริหารจะต้องคิดถึงสิ่งที่ต้องดำเนินการใน 3 ด้าน คือ
    การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบและการกำหนดวิธีประเมินผล การกำหนดวิธีปฏิบัติงานนั้นต้องอาศัยข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์มาแล้วพิจารณาว่าการที่จะทำงานนั้น ๆ ให้ลุล่วงได้ดีจะมีวิธีการทำอย่างไรบ้าง บันทึกแนวคิดทั้งหมดไว้ และนำมาวิเคราะห์ว่าวิธีการใดจะดีที่สุดบางครั้งอาจจะนำแนวคิดหลาย ๆ แนวคิดมาผสมผสานกันและจัดเรียงลำดับขั้นตอนการดำเนินงาน และต้องกำหนดว่างานแต่ละอย่างจะต้องเริ่มต้นทำเมื่อใดและเสร็จสิ้นเมื่อใด ใช้เวลามากน้อยเพียงใด และ ใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ การกำหนดวิธีปฏิบัติงานการกำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบนี้ถ้าจัดทำเป็นแผนภูมิปฏิบัติงาน (Gantt chart) ก็จะดูได้ง่ายขึ้น
    6. การกำหนดค่าใช้จ่าย
    องค์จะต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยพิจารณาถึงทรัพยากรที่มีอยู่ การปฏิบัติงานแต่ละ
    ขั้นตอนตามที่กำหนดไว้ว่า จะต้องทำอะไรบ้างและจะต้องใช้จ่ายเงินเพื่อทำกิจกรรมนั้น ๆ เป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไร และรวมเงินที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมดเป็นจำนวนเงินมากน้อยเพียงไรค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะได้มาจากแหล่งเงินทุนใดควรระบุไว้ให้ขัดเจนด้วย
    7. การปฏิบัติตามแผน
    ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่องค์การได้กำหนดไว้ ขั้นนี้จะต้องอาศัยความรู้ทางการบริหาร การสั่งการ การตรวจงาน การประสานงาน การตัดสินใจ ภาวะผู้นำและกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำหนดสิ่งต่าง ๆเหล่านี้จะรวมอยู่ในขั้นตอนการนำเข้ากระบวนการผลิต และผลผลิต งานจะบรรลุเป้าหมายหรือไม่ส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหารว่ามีความรู้ความเข้าใจในบทบาท หน้าที่ และภาระของงานมากน้อยเพียงใด
    8. การประเมินผลและปรับปรุงแผน
    การประเมินผลการปฏิบัติองค์การจะต้องมีการกระทำเป็นระยะ ๆ เพื่อตรวจดูความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของกระบวนการทำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าพบว่ามีปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานในขั้นตอนใด ก็จะต้องมีการปรับปรุงแผนที่กำหนดไว้
    (นางสาวศศิประภา ผาดศรี 12590075)

    ตอบลบ
  72. ชนิดกระบวนการวางแผน คือ
    1. การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic planning) จัดทำโดยผู้บริหารระดับสูงซึ่งจะเป็นแผนระยะยาว มุ่งสนใจกำหนดวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ที่องค์กรต้องก้าวให้ถึงโดยอาศัยวิธีการคาดคะเนและประมาณการต่าง ๆ
    2. การวางแผนโครงการ (Program or Project planning)ทำโดยผู้บริหารระดับกลาง เป็นแผนระยะปานกลาง มุ่งเน้นการวางแผนทรัพยากรทำโดยการแปลความจากแผนระยะยาวออกเป็นแผนงาน/ โครงการ
    3. การวางแผนดำเนินงาน (Operational planning)ทำโดยผู้บริหารระดับต้น เป็นแผนระยะสั้น แปลความจาก แผนงาน/ โครงการ ออกเป็น แผนปฏิบัติงานละเอียดทั้งกำหนดเวลา และงบประมาณโดยชี้ว่าใครทำอะไร ที่ไหน ใคร อย่างไร มีการวิเคราะห์โดยละเอียดเกี่ยวกับเวลาที่ใช้จริงและรายละเอียดของงาน
    ขั้นตอนกระบวนการวางแผน

    1. ตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับอนาคต
    2. กำหนดวัตถุประสงค์
    3. พัฒนากลยุทธ์
    4. การสร้างเป้าหมายระยะปานกลาง
    5. กำหนดแผนปฏิบัติงาน
    6. ปฏิบัติตามแผน
    7. กลไกข้อมูลย้อนกลับ
    (นางสาวอรวี ศรีวิโน 12590103)

    ตอบลบ